Verify

ตรวจสอบแล้ว: ลงทะเบียนรถไฟฟ้า 20 บาท “กรมรางฯ – บีทีเอส” ยืนยัน ยังไม่เปิดลงทะเบียน!
ตรวจสอบกรณีบัญชี X แชร์ภาพลงทะเบียนเพื่อรับสิทธิ์โครงการรถไฟฟ้า 20 บาท ตลอดสาย ด้าน กรมรางฯ และ บีทีเอส ยืนยันโครงการอยู่ในระหว่างการศึกษา ยังไม่มีลงทะเบียนแต่อย่างใด
4 พ.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว: เพจรับสมัครแรงงานต่างด้าวส่งสินค้า กรมการจัดหางานยัน “ไม่มีจริง”
พบเพจเฟซบุ๊กแอบอ้างชื่อบริษัทขนส่งดัง รับสมัครแรงงานไม่ต้องมีเอกสารในเชียงราย ตรวจสอบแล้วไม่พบความเกี่ยวข้อง ด้านกรมการจัดหางานยัน ต่างด้าวสมัครงานต้องมีเอกสารเท่านั้น เตือนอย่าหลงเชื่อ
3 พ.ค. 68

ตรวจสอบพบ: ทานเนื้อดิบเสี่ยงถึงชีวิต เตือนเชื้อ “แอนแทรกซ์” อยู่บนดินได้นับปี
Thai PBS Verify ตรวจสอบพบข่าวจริง กรณีผู้ใช้เฟซบุ๊กโพสต์เตือนงดกินเนื้อดิบ หลังมีผู้เสียชีวิตจากการติดเชื้อแอนแทรกซ์ ขณะที่นักวิชาการเตือนเชื้อแอนแทรกซ์ร้ายแรง อยู่ในดินได้นานนับปี และยังพบได้ในหนังสัตว์ที่แม้จะถูกแล่แล้วก็ตาม
1 พ.ค. 68

ตรวจสอบพบ : เพจอ้างรับอินฟลูฯ รีวิวโรงแรม แท้จริงสวมรอยบริษัทอสังหาฯ หลอกเงินค่าสมัคร
23 เม.ย. 68
ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
22 เม.ย. 68
ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI
18 เม.ย. 68
ตรวจสอบแล้ว คลิปประท้วงตุรกี แท้จริงคือคลิปเก่า โป๊ปฟรานซิสเยือนติมอร์ – เลสเต
18 เม.ย. 68เช็กข่าวแผ่นดินไหว "เขย่ากรุงเทพฯ"

ตรวจสอบแล้ว: คลิปอ้าง "ชเวดากองถล่ม" ที่แท้เป็น "เจดีย์ปรียาติ" ในรัฐฉาน
หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบคลิปอ้างเจดีย์ "ชเวดากองถล่ม" แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นเจดีย์ของวัดแห่งหนึ่งในเมืองพินดายา รัฐฉาน ประเทศเมียนมา เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่ดูไปถึง 10 ล้านครั้ง
31 มี.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว: คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า
คลิปอ้างว่าพบผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม คนล่าสุด แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า พบคนหลงเชื่อเข้าไปดูแล้วเกือบ 3 แสนครั้ง
12 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย
22 เม.ย. 68
บทความ

5 เช็กลิสต์ก่อนซื้อสังฆทาน
การทำบุญด้วยการถวายสังฆทาน ถือเป็นเรื่องที่หลายคนยึดถือปฏิบัติในวันสำคัญทางศาสนา หรือเพื่อเสริมสร้างสิริมงคลให้ชีวิต แต่รู้หรือไม่ว่า ของในสังฆทานสำเร็จรูปหลายชุด อาจกลายเป็นภาระให้พระมากกว่าประโยชน์?
10 พ.ค. 68

ระวัง แอปฯ ฟรีหลอกลวง? ข้อมูลเด็กถูกดูดโดยไม่รู้ตัว !
มิจฉาชีพใช้ SMS ปลอมแอบอ้างเป็นหน่วยงานรัฐ หลอกเรียกเก็บค่าปรับจอดรถผิดกฎหมาย พร้อมแนบลิงก์ปลอมให้คลิก ผู้รับอาจเผลอกรอกข้อมูลส่วนตัวจนสูญเงินโดยไม่รู้ตัว การรู้เท่าทันจึงสำคัญในยุคภัยไซเบอร์แพร่ระบาด
8 พ.ค. 68

แชต-คอลเสียว ต้องระวัง ! รู้ทัน Sextortion กลลวงแบล็กเมลทางเพศออนไลน์
Cyber Sextortion เป็นคำที่เกิดจากการรวมกันของคำว่า Sexual (เพศ) และ Extortion (การข่มขู่ กรรโชก) หมายถึงการข่มขู่หรือแบล็กเมลผู้เสียหายด้วยเรื่องทางเพศ โดยผู้ก่อเหตุจะหลอกล่อหรือหาวิธีได้ภาพหรือวิดีโอส่วนตัวของผู้เสียหาย จากนั้นจะใช้ภาพเหล่านี้เป็นเครื่องมือกดดันให้ยอมทำตาม เช่น โอนเงิน ส่งภาพเพิ่มเติม หากปฏิเสธ ผู้กระทำจะข่มขู่ว่าจะเผยแพร่ภาพหรือวิดีโอเหล่านี้ต่อสาธารณะ และที่น่ากังวลคือ เหยื่อจากการถูกแบล็กเมลทางเพศหลายคนเป็นเยาวชน
6 พ.ค. 68

ใช้ WiFi ฟรี ในที่สาธารณะ ปลอดภัยหรือไม่? รู้ทันภัยแฝงจากการใช้อินเทอร์เน็ตนอกบ้าน
8 พ.ค. 68

จับ 3 ชาวจีน แบล็กเมลเหยื่อ ลวงถ่ายคลิปอนาจาร ขู่เรียกเงิน 1.9 ล้าน
ตำรวจสอบสวนกลาง จับกุมชาวจีน 3 คน ร่วมขบวนการข่มขู่กรรโชกทรัพย์ โดยอาศัยหญิงไทยล่อลวงเหยื่อให้ถ่ายคลิปช่วยตัวเอง หลังจากนั้นแอบถ่ายคลิปแบล็กเมลผู้เสียหาย เรียกเงินกว่า 1.9 ล้านบาท สืบพบเส้นทางเงินเชื่อมโยงการฟอกเงินผ่านเหรียญดิจิทัล รวมมูลค่ากว่า 5,000 ล้านบาท
7 พ.ค. 68

โอนผิดไม่ใช่เรื่องเล่น เสี่ยงกลายเป็นมิจฉาชีพ !
โอนเงินผิดบัญชีเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้บ่อย หากกรอกเลขผิดเพียงหลักเดียว เงินอาจหลุดไปถึงคนแปลกหน้า หากไม่ได้รับการคืนจากปลายทางหรือเป็นมิจฉาชีพ ผู้โอนอาจเสียหายและเผชิญปัญหาทางกฎหมายจากการทวงคืนผิดวิธี Thai PBS Verify นำวิธีป้องกันมาให้ที่นี่
4 พ.ค. 68

แชร์วิธีเช็กก่อน “สมัครงานออนไลน์” ป้องกันการถูกลวงข้อมูล-สูญเงิน
สมัครงานออนไลน์อย่างไรให้ปลอดภัย Thai PBS Verify แชร์วิธีเช็กให้ชัวร์ก่อนสมัครงาน ป้องกันตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพที่แฝงมากับประกาศรับสมัครงานหลอกลวง
8 พ.ค. 68

วิธีสังเกต “เพจ-โฆษณาปลอม” เมื่อวิธีตรวจสอบเดิม ๆ เริ่มเชื่อถือไม่ได้
ผู้คนจำนวนไม่น้อยเลือก "เชื่อ" ยอดไลก์และยอดติดตามของเพจต่าง ๆ โดยเฉพาะบนแพลตฟอร์มยอดนิยมอย่าง Facebook แต่จะวางใจได้อย่างไร โดยเฉพาะเมื่อวันนี้ "เพจปลอม" ระบาดหนักจนแยกแทบไม่ออกจากของจริง Thai PBS Verify รวบรวมวิธีตรวจสอบเบื้องต้นไว้ที่นี่
6 พ.ค. 68

ดูให้ชัด! วิธีเช็ก “ช็อกโกแลตปลอม” แฝงสารอันตราย
สายของหวานต้องระวัง! ตำรวจสอบสวนกลางพบขนมอัลมอนด์เคลือบช็อกโกแลตปลอมขายกลางย่านประตูน้ำ บรรจุภัณฑ์ทำเหมือนแบรนด์ดัง หากมองเผิน ๆ อาจแยกไม่ออก ตำรวจชี้อาจมีสารอันตรายที่ส่งผลร้ายแรงต่อสุขภาพ
3 พ.ค. 68