ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจและวิกฤตโควิด-19 มีการคาดการณ์ว่าจะมีแรงงานจำนวน 8.4 ล้านคน เสี่ยงถูกเลิกจ้าง และกว่า 40% เป็นแรงงานอีสาน หนึ่งใน 40% ที่กำลังพูดถึงคือคุณกมลวรรณ เดชโปรด แม่บ้านฟรีแลนซ์ จากแพลตฟอร์มทำแทน ที่ช่วยให้กลับมามีงานทำอีกครั้ง
ระหว่างทางที่ยังรอความหวังจากนโยบาย มีหลายพื้นที่เลือก “ฉีดวัคซีนตัวเอง” สร้างแพลตฟอร์มเชื่อมต่อการสร้างงาน และเดินหน้าวิสาหกิจชุมชน เพื่อหวังสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ และการใช้วัคซีนแก้โจทย์เศรษฐกิจภาพใหญ่ หากฉีดไม่ตรงจุด หรือฉีดวัคซีนกระตุ้นมากไป ผู้ประกอบการอาจเกิดภาวะช็อตได้ ซึ่ง New normal ทางธุรกิจแบบใหม่ ไม่ใช่อยู่ห่าง ๆ เท่านั้น แต่หมายถึงการสร้างวิถีใหม่ในพื้นที่ ชวนคุยเรื่องนี้กันต่อกับคุณมารุต ชุ่มขุนทด นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งแพลตฟอร์มทำแทน และคุณสุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ประธานชมรมแพทย์ชนบท
ติดตามได้ในรายการนักข่าวพลเมือง C-Site วันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม 2564 เวลา 13.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
นักข่าวพลเมือง C-Site
วัคซีนท่องเที่ยว
โจทย์สังคมสูงวัย บำนาญ - เบี้ยยังชีพ
ฉีดวัคซีนให้ฉันหาย จากพิษเศรษฐกิจ
ไร่หมุนเวียนกับการจัดการป่า
ความมั่นคงทางอาหาร หลังโควิด-19
“กัญชา” ที่ประชาชนเข้าถึงได้
ขยะ Next Normal
อาสาดูแลกัน - คนเล็ก ๆ ในภารกิจยิ่งใหญ่
ดูแลใจ สู้โควิด
ห้องเรียนภัยพิบัติท้องถิ่น
ฉีดวัคซีนผลไม้ไทย ด้วยเกษตรแม่นยำ
รักษ์หาดหว้าขาว
สงกรานต์ฟื้นฟูใจ
รพ.สนามและการจัดการผู้ป่วยโควิด ระลอก 3
กลับบ้านเรา เอาอะไรกิน ?
อสม.(พลัส) ฟังก์ชันชุมชนรับมือโควิดรอบใหม่
ปิดแคมป์แรงงาน เจ็บแต่(ไม่)จบ
คน(ป่วย)กลับบ้าน Isolation
30 วันปิดแคมป์แรงงาน อยู่ให้รอดและปลอดโรค
สแกนเสียงคนด่านหน้า รับมือโควิด-19
อาสาไหวไหม ไปต่อ หรือพอแค่นี้ ?
ประเมิน 7 วัน ครึ่งทางล็อกดาวน์
ฟ้าทะลายโจร - ยาสมุนไพร ทางเลือกเพื่อทางรอดในวิกฤตโควิด-19
จับชีพจร - ปากท้อง(ต้อง)รอด
Check Up เตรียมรับน้ำท่วม
ปักหมุด ออกแบบตำบลบ้านฉัน
บทบาทท้องถิ่นกับอนาคตชุมชน
Caregiver โมเดลเตรียมรับมือสังคมสูงวัย
ยางนาล้ม จุดตัดการอนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ในเมือง
อำนาจท้องถิ่น VS การเมืองระดับชาติ
อนาคตท่องเที่ยวชุมชน บนเส้นทางชีวิตวิถีใหม่
แก้กัดเซาะชายฝั่ง - ไปได้ไกลกว่าโครงสร้างแข็ง ?
"เมือบ้าน" คนคืนถิ่นเติมพลังชุมชน
คนรุ่นใหม่ x ท้องถิ่น
นักข่าวพลเมือง C-Site
วัคซีนท่องเที่ยว
โจทย์สังคมสูงวัย บำนาญ - เบี้ยยังชีพ
ฉีดวัคซีนให้ฉันหาย จากพิษเศรษฐกิจ
ไร่หมุนเวียนกับการจัดการป่า
ความมั่นคงทางอาหาร หลังโควิด-19
“กัญชา” ที่ประชาชนเข้าถึงได้
ขยะ Next Normal
อาสาดูแลกัน - คนเล็ก ๆ ในภารกิจยิ่งใหญ่
ดูแลใจ สู้โควิด
ห้องเรียนภัยพิบัติท้องถิ่น
ฉีดวัคซีนผลไม้ไทย ด้วยเกษตรแม่นยำ
รักษ์หาดหว้าขาว
สงกรานต์ฟื้นฟูใจ
รพ.สนามและการจัดการผู้ป่วยโควิด ระลอก 3
กลับบ้านเรา เอาอะไรกิน ?
อสม.(พลัส) ฟังก์ชันชุมชนรับมือโควิดรอบใหม่
ปิดแคมป์แรงงาน เจ็บแต่(ไม่)จบ
คน(ป่วย)กลับบ้าน Isolation
30 วันปิดแคมป์แรงงาน อยู่ให้รอดและปลอดโรค
สแกนเสียงคนด่านหน้า รับมือโควิด-19
อาสาไหวไหม ไปต่อ หรือพอแค่นี้ ?
ประเมิน 7 วัน ครึ่งทางล็อกดาวน์
ฟ้าทะลายโจร - ยาสมุนไพร ทางเลือกเพื่อทางรอดในวิกฤตโควิด-19
จับชีพจร - ปากท้อง(ต้อง)รอด
Check Up เตรียมรับน้ำท่วม
ปักหมุด ออกแบบตำบลบ้านฉัน
บทบาทท้องถิ่นกับอนาคตชุมชน
Caregiver โมเดลเตรียมรับมือสังคมสูงวัย
ยางนาล้ม จุดตัดการอนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ในเมือง
อำนาจท้องถิ่น VS การเมืองระดับชาติ
อนาคตท่องเที่ยวชุมชน บนเส้นทางชีวิตวิถีใหม่
แก้กัดเซาะชายฝั่ง - ไปได้ไกลกว่าโครงสร้างแข็ง ?
"เมือบ้าน" คนคืนถิ่นเติมพลังชุมชน
คนรุ่นใหม่ x ท้องถิ่น