ฉีดวัคซีนผลไม้ไทย ด้วยเกษตรแม่นยำติดตามความพยายามพลิกฟื้นผลไม้ไทยสู้โควิด-19 ด้วยการปรับกลยุทธ์การขายของชาวสวน และเทคนิคการทำเกษตรแบบแม่นยำ
รักษ์หาดหว้าขาวชวนสำรวจหาดหว้าขาว จ.ประจวบคีรีขันธ์ จุดพบนกหัวโตมลายูที่ใกล้สูญพันธุ์ ชาวบ้านจึงร่วมกันปกป้องพื้นที่นี้มากว่า 20 ปี
สงกรานต์ฟื้นฟูใจพาไปฟื้นพลังกันด้วยวัฒนธรรมประเพณีที่สานสายใยทางสังคม ชวนไปสำรวจกิจกรรมรับสงกรานต์ทั้งเหนือ, ใต้ และอีสาน
รพ.สนามและการจัดการผู้ป่วยโควิด ระลอก 3ปักหมุด จุดประเด็น คุยกันถึงสถานการณ์การระบาดโควิด-19 ที่มียอดผู้ติดเชื้อรายใหม่ต่อเนื่อง
กลับบ้านเรา เอาอะไรกิน ?สถานการณ์โควิด-19 ทำให้การกลับบ้านช่วงสงกรานต์ของหลายคน อาจต้องกลับบ้านถาวร เพื่อตั้งหลักหาทางรอด และดูแลปากท้อง
อสม.(พลัส) ฟังก์ชันชุมชนรับมือโควิดรอบใหม่หลังสงกรานต์ จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อสม.ต้องทำงานหนัก ในยุค 4.0 นวัตกรรมเทคโนโลยีจะช่วยรับมือวิกฤตนี้มากน้อยแค่ไหน
ปิดแคมป์แรงงาน เจ็บแต่(ไม่)จบสะท้อนเสียงแรงงานจากมาตรการล็อกดาวน์บางจุด โดยเฉพาะการปิดแคมป์แรงงานในกรุงเทพฯ แต่ปิดแคมป์แล้วจะจบหรือไม่
คน(ป่วย)กลับบ้าน Isolationชวนตรวจเช็กความพร้อมของแต่ละจังหวัด ที่ประกาศแนวทางรับมือแรงงานและผู้ป่วยโควิด-19 กลับภูมิลำเนา แม้หลายจังหวัดมีแนวทางรับมือ แต่จะรับมือได้นานแค่ไหน
30 วันปิดแคมป์แรงงาน อยู่ให้รอดและปลอดโรคเช็กสถานการณ์ หลังผ่าน 10 วัน คำสั่งปิดแคมป์ หยุดทำงานก่อสร้าง งดเคลื่อนย้ายแรงงาน ใน 10 จังหวัด เพื่อควบคุมโรคระบาดไวรัสโควิด-19 พาไปสำรวจชีวิตแรงงานในแคมป์ เขาอยู่กันอย่างไร
สแกนเสียงคนด่านหน้า รับมือโควิด-19นาทีนี้ต้องยอมรับว่า ทั้งจำนวนเตียง, หมอ และพยาบาลในโรงพยาบาลหลายแห่งอยู่ในสถานการณ์วิกฤต ถ้าเทียบกับจำนวนผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 คนด่านหน้าต้องรับมือกันอย่างหนัก นักข่าวพลเมือง C-site จะมาสแกนเสียงบุคลากรทางแพทย์และข้อเสนอของคนด่านหน้า
อาสาไหวไหม ไปต่อ หรือพอแค่นี้ ?ชวนปักหมุด จุดประเด็น เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงจากภาคพลเมือง กับภารกิจที่ไม่มีวันหยุดของอาสาสมัครในสถานการณ์โควิด-19 ระดมกำลังช่วยอุดรอยรั่วที่ระบบรัฐทำไม่ไหว งานหนักจนท้อ แต่ทุกคนบอกต้องไปต่อ
ประเมิน 7 วัน ครึ่งทางล็อกดาวน์ถึงวันนี้ (19 ก.ค. 64) ผ่านมากว่า 7 วันแล้ว กับมาตรการล็อกดาวน์ในพื้นที่กรุงเทพฯ และอีก 9 จังหวัด ล่าสุดเมื่อวานนี้ (18 ก.ค. 64) ยกระดับพื้นที่สีแดงเข้มเพิ่มอีก 3 จังหวัด แต่แนวโน้มยังคุมการระบาดโควิด-19 ไม่ได้ หลังล็อกดาวน์สถานการณ์จะมีโอกาสเป็นแบบไหนได้บ้าง
ฟ้าทะลายโจร - ยาสมุนไพร ทางเลือกเพื่อทางรอดในวิกฤตโควิด-19ภายใต้สถานการณ์ที่เราต้องต่อสู้กับวิกฤตโควิด-19 ข้อเสนอในการดูแลตัวเองและการใช้ยาสมุนไพรจึงพูดถึงมากขึ้น ชวนดูตัวอย่างจาก 3 พื้นที่ ในการดูแลตัวเอง ทั้งการแบ่งปัน, สร้างองค์ความรู้ และช่วยเหลือกัน แล้ว “ทางเลือก” จะเป็น “ทางรอด” ได้อย่างไร
จับชีพจร - ปากท้อง(ต้อง)รอดผ่านมาเกินครึ่งทางแล้วสำหรับการยกระดับมาตรการควบคุมโควิด-19 ผลกระทบขยายครอบคลุมในทุกมิติ โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจปากท้อง
Check Up เตรียมรับน้ำท่วมสถานการณ์น้ำท่วมจากอิทธิพลพายุเตี้ยนหมู่ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนทั้งในพื้นที่ภาคอีสานและภาคกลาง และเพื่อให้เห็นความร่วมมือในการเตรียมรับมือน้ำท่วมในพื้นที่ปลายน้ำอุบลราชธานี ชวนคุยกันเพื่อพร้อมรับมือภัยพิบัติมากขึ้น
ปักหมุด ออกแบบตำบลบ้านฉันชวนติดตามประเด็นทางสังคมกับภาคพลเมือง ปักหมุดวัดพลังคนรุ่นใหม่ จากโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล หรือ U2T จุดประเด็นสร้างกลไกฟื้นเศรษฐกิจท้องถิ่น
บทบาทท้องถิ่นกับอนาคตชุมชนเดินหน้าสู่การเลือกตั้งท้องถิ่นในรอบ 8 ปี นอกจากซ่อมถนน เชื่อมประปา ต่อไฟฟ้า กลไกท้องถิ่นดูแลได้มากกว่านั้นหรือไม่ ? มีอำนาจในการตัดสินใจต่อโครงการที่จะเข้ามาเปลี่ยนแปลงท้องถิ่นมากน้อยแค่ไหน ?
Caregiver โมเดลเตรียมรับมือสังคมสูงวัยชวนพูดคุยถึงโจทย์การดูแลผู้สูงวัย ซึ่งปี 2564 ไทยก้าวสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” แม้รัฐบาลจะกำหนดเรื่องนี้เป็น “วาระแห่งชาติ” แต่พบว่า 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุ มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน
ยางนาล้ม จุดตัดการอนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ในเมืองจากเหตุการณ์วาตภัย จ.เชียงใหม่ ที่ทำให้ต้นยางนาและต้นไม้อื่นล้มลง จนเกิดความสนใจต่อคุณค่าต้นยางนา รวมไปถึงการดูแลไม้ใหญ่ในพื้นที่อื่น และบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อำนาจท้องถิ่น VS การเมืองระดับชาตินับถอยหลังวันที่ประชาชนจะได้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง อบต. อีกครั้งในรอบ 8 ปี ในขณะที่แนวคิดกระจายอำนาจยังไม่เป็นจริง ชุมชนจะจัดการกับท้องถิ่นของตนเองอย่างไร ในวันที่ยังไร้อำนาจ