ข้อมูลรั่วไหล มีอะไรน่ากลัว ?ในโลกดิจิทัลมีคำกล่าวกันว่าข้อมูลส่วนตัวเป็นเสมือนวัตถุดิบที่ล้ำค่ำ เราต้องดูแลปกป้องข้อมูลนี้ แต่ในสถานการณ์ปัจจุบันจะปกป้องข้อมูลส่วนตัวได้ยากมากขึ้น ควรต้องทำความเข้าใจอย่างไรเพื่อป้องกันข้อมูลรั่วไหล
ถอดบทเรียนสหราชอาณาจักร... หาวัคซีนได้อย่างไรโจทย์ในการเลือกวัคซีนโควิด-19 และการกระจายไปยังประชาชนในรูปแบบใด ล้วนแล้วแต่เป็นโจทย์ที่แต่ละประเทศต้องคิดและหาทาง อย่างกรณีสหราชอาณาจักรเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างให้ไทยได้ศึกษา และถอดบทเรียนอังกฤษจัดหาวัคซีนโควิด-19
ฉีดวัคซีนหรือไม่ อย่างไหนปลอดภัยกว่า ?ไปดูการรณรงค์คนไทยฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ด้วยเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
แก้ปัญหารถปล่อยฝุ่นพิษ... คิดแบบเศรษฐศาสตร์ชวนคิดแบบเศรษฐศาสตร์ แก้ปัญหารถปล่อย PM 2.5 แบบไหน ลดฝุ่นได้มากและราคาถูกที่สุด
รัฐไทย...ถัง (ยังไม่) แตก ?เช็กสถานะการคลังของรัฐบาลเป็นอย่างไร และนโยบายการรับมือสถานการณ์โควิด-19 ทางการคลังมีความเหมาะสมหรือไม่
นโยบายวัคซีนไทย...ตรงไหนมีปัญหา ?ปัญหานโยบายวัคซีนโควิด-19 ของไทย เพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 อยู่ตรงไหน
เศรษฐศาสตร์และผองเพื่อนใช้เศรษฐศาสตร์ทำงานร่วมกับศาสตร์อื่นอย่างไรให้บูรณาการและเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น
ทำอย่างไร...ไม่ให้เวียดนามแซง ?เศรษฐกิจเวียดนามกำลังจะมาแรงแซงประเทศไทยจริงหรือไม่ แล้วไทยควรจะตั้งรับอย่างไร ไปดูการเตรียมพร้อมของไทยเพื่อรับมือความสามารถในการแข่งขันกับเวียดนาม
เวียดนามมาแรง...แซงไทยแล้ว ?เวียดนามมาแรงวิ่งแซงไทยแล้วหรือยัง เปรียบเทียบความสามารถหลายด้านสำหรับการแข่งขันในเวทีโลก
ทำแผน 13 พลิกโฉมไทยให้ได้จริงเมื่อพูดถึงแผนในการพัฒนาประเทศอย่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่กำลังอยู่ระหว่างการร่างฉบับที่ 13 แผนนี้ควรมีหน้าตาอย่างไรเพื่อที่จะนำประเทศไทยให้เดินหน้าต่อไป
อุตสาหกรรมทำแผนแผนพัฒนาประเทศไทยที่ร่างขึ้นในแต่ละระดับถูกจุดหรือไม่ และจะเดินหน้าตามเป้าหมายได้อย่างไร
จะคุมโควิด...ต้องฉีดวัคซีนทั่วโลกกำลังเผชิญกับโควิด-19 ความหวังเดียวของประชากรทั้งโลกน่าจะเป็นวัคซีนโควิด-19 อาจมีคำถามว่าจะมั่นใจได้อย่างไร และมีแนวคิดแบบไหนในการเดินหน้าเพื่อฉีดวัคซีน
โลกเปลี่ยนไป เป้าหมายลดคาร์บอนะแนวทางที่ออกมาเรียกร้องให้ลดการปล่อยคาร์บอนคืออะไร และไทยควรตั้งหลักอย่างไร
แก้ปัญหาหาบเร่...เท่ ๆ อย่างสิงคโปร์หาบเร่แผงลอยเป็นปัญหาใหญ่ในสิงคโปร์แต่สามารถจัดการได้สำเร็จแล้ว จะเป็นต้นแบบให้ไทยได้เรียนรู้อย่างไร
อุดมศึกษาไทย มรสุมใหญ่ มรสุมเล็กหลายวงการกำลังเผชิญวิกฤตโควิด-19 หนึ่งในนั้นก็คือการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยที่กำลังเจอมรสุม จำนวนน้อยลดเพราะต้องปรับมาเป็นออนไลน์ จะมีความหมายต่ออนาคตของอุดมศึกษาอย่างไร
การแพทย์ทางไกล อนาคตใกล้กว่าที่คิดในยุคที่วิกฤตโควิด-19 กำลังรุมเร้า เรื่องการแพทย์ทางไกลอาจเป็นอีกหนึ่งทางเลือก จะต้องทำอย่างไรเพื่อให้เกิดขึ้นจริง
โควิด-19 สะท้อนต้นทุนแฝงแรงงานข้ามชาตินอกจากวิกฤตโควิด-19 จะสะท้อนปัญหาในเชิงสาธารณสุขและปัญหาด้านสุขภาพแล้ว อีกด้านหนึ่ง ยังเกี่ยวข้องกับการใช้แรงงานในไทย
ออกกฎหมายอย่างไร ไม่ให้ "เมากฎหมาย"หลายคนสับสนในการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แล้วผู้บริโภคกับผู้ประกอบการจะต้องทำความเข้าใจอย่างไร
เตรียมพร้อม รับระเบียบโลกใหม่เป็นช่วงเวลาที่ต้องเร่งถอดบทเรียนและปรับตัวกันทั้งโลก เพื่อที่จะรับมือกับโลกหลังวิกฤตโควิด-19 ให้ได้ มาเรียนรู้บทเรียนที่ต้องรู้ในโลกหลังโควิด-19 ไปพร้อมกัน