มิติเศรษฐกิจ ภารกิจกู้โลก - ลดก๊าซเรือนกระจก
แนวคิดเศรษฐกิจเติบโต ควบคู่กับสิ่งแวดล้อมที่ดี หลายคนมองว่ายาก แต่ปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในเวทีการค้าโลก หลังสหภาพยุโรป (อียู) จะจัดเก็บภาษีก๊าซเรือนกระจกก่อนข้ามพรมแดนสำหรับสินค้านำเข้า หรือ CBAM แล้วจะส่งผลกระทบกับใครบ้าง ?
“สังคมไร้คาร์บอน” กุญแจสำคัญลดโลกร้อน
ปี 2564 มีการประชุมที่ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) ณ ประเทศสกอตแลนด์ โดยมีการบรรลุข้อตกลงเพื่อควบคุมปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการผลักดันให้ยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล การประชุมนี้เกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจอย่างไร และการที่ไทยตั้งเป้ามุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 นั้นจะเป็นจริงได้หรือไม่ ?
จุดเปลี่ยน “กยศ” ก้าวต่ออย่างไรให้ยั่งยืน
ในช่วงที่ผ่านมา สภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติผ่านร่าง กยศ. โดยให้ยกเว้นการเก็บดอกเบี้ย การคิดค่าปรับผิดนัดชำระ และไม่ต้องมีผู้ค้ำประกันการกู้ยืมเงิน กยศ. หลายฝ่ายกังวลว่านี่คือทางออกที่ดีแล้วหรือไม่ และหากต้องการให้กองทุนนี้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต โดยการดึงสถาบันการเงินเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อสร้างทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาจะเป็นไปได้หรือไม่ ?
“ล้างหนี้ กยศ.” คำตอบที่ใช่ หรือโจทย์ใหม่ในอนาคต
สภาผู้แทนราษฎรจึงได้มีการลงมติผ่านร่าง กยศ. โดยให้ยกเว้นการเก็บดอกเบี้ย การคิดค่าปรับผิดนัดชำระ และไม่ต้องมีผู้ค้ำประกันการกู้ยืมเงิน กยศ. ทำให้เกิดข้อกังวลว่าการใช้นโยบายประชานิยมของ ส.ส. โดยการลดแลกแจกแถม กำลังทำลายกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาหรือไม่ ?
กอช. จุดเริ่มต้นเงินบำนาญของคนทำงานอิสระ
หลายคนที่ทำงานอิสระ มักจะตัดพ้อว่า เมื่ออายุถึง 60 ปี หรือไม่สามารถทำงานได้แล้ว จะไม่ได้รับเงินบำนาญ แต่ในปัจจุบัน คนทำงานอิสระมีโอกาสจะได้รับเงินบำนาญเช่นเดียวกัน หากออมเงินทุกเดือนกับ “กองทุนการออมแห่งชาติ” หรือ กอช. แล้วกองทุนนี้คืออะไร ? เริ่มต้นออมเงินกับ กอช. ต้องทำอย่างไร ?
ถอดบทเรียนเงินเฟ้อจากภาพยนตร์ฮอลลีวูด
ในช่วงนี้ปัญหา "เงินเฟ้อ" ถูกพูดถึงอย่างแพร่หลาย หลังจากเศรษฐกิจโลกกลับมาฟื้นตัว แต่หากมองผ่านภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่องหนึ่ง ที่พูดถึงเงิน 370,000 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 1966 จะเห็นว่าปัจจุบันค่าเงินเพิ่มสูงขึ้น และต่างกันถึง 8 เท่า บทเรียนของภาพยนตร์เรื่องนี้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ได้ให้อะไรกับผู้ชมบ้าง ?