ร่วมเรียนรู้คุณค่าวิถีแห่งวัฒนธรรมงานเลี้ยงในรูปแบบ “โต๊ะจีน” วัฒนธรรมการกินที่อยู่คู่สังคมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รากฐานการกินโต๊ะจีนในอดีตที่มีมานานหลายพันปี สะท้อนวิถีแห่งความเคารพนับถือ สื่อสารผ่านอาหารและวัฒนธรรมการกิน รวมถึงการใช้เวลาบนโต๊ะอาหารอย่างมีคุณค่า เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ของผู้คนให้แน่นแฟ้น
แม้กาลเวลาเปลี่ยนผ่าน แต่ความนิยมการจัดเลี้ยงโต๊ะจีนยังคงมีให้เห็นในทุกงานเลี้ยงสังสรรค์ ทั้งงานมงคลและงานสมาคมพบปะ เมนูอาหารชั้นเลิศที่เสิร์ฟขึ้นโต๊ะตามลำดับ มีคุณค่านัยยะที่ให้มากกว่าความหรูหราและความอิ่มท้อง เพราะการกิน “โต๊ะจีน” ล้วนมีวิถีที่สอดแทรกคุณค่าความหมาย เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของผู้คนมากมายให้ชื่นมื่นและกลมเกลียวอีกด้วย
ติดตามชมได้ในรายการ จากรากสู่เรา ตอน โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
ชุมชนมัสยิดยะวา
สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
จากรากสู่เรา
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
ชุมชนมัสยิดยะวา
สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม