“ภาคตะวันออก” นอกจากจะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ยังมีทำเลที่ดี เนื่องจากอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ และอยู่ติดอ่าวไทยซึ่งเป็นช่องทางเข้า-ออกในการขนส่งสินค้าทางทะเล ด้วยเหตุเหล่านี้ ภาคตะวันออกจึงเป็นพื้นที่หมายปองของรัฐ เพื่อพัฒนาให้เป็นพื้นที่อุตสาหกรรมของประเทศ โดยเริ่มมองเห็นความพยายามดังกล่าว ตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา
ในปี 2525 หรือในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 5 แผนการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกเริ่มปรากฏชัดเจน เมื่อรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้เริ่มโครงการ 'อีสเทิร์นซีบอร์ด' หรือ โครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกขึ้น เพื่อดึงดูดนักลงทุน พร้อมผลักดันให้พื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง กลายเป็นพื้นที่เศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรม
เหรียญด้านหนึ่งของโครงการ “อิสเทิร์นซีบอร์ด” คือการพัฒนาอุตสาหกรรม การดึงเงินตราเข้าประเทศ จนจีดีพีของไทยเพิ่มขึ้นอย่างที่ไม่เคยปรากฎมาก่อน แต่ในขณะที่เหรียญอีกด้านหนึ่งนั้น การพัฒนาก็ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางสังคม รวมไปถึงผลกระทบต่อชีวิตวัฒนธรรมของผู้คนท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้เสียสละเพื่อเศรษฐกิจโดยรวมของคนทั้งประเทศ
ติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอน จุดเริ่มต้นการพัฒนาภาคตะวันออก วันจันทร์ที่ 20 พฤศจิกายน 2566 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
จันทบุรีในสมัยอยุธยา : หัวเมืองสำคัญทางภาคตะวันออก
พระเจ้าตากตีเมืองจันท์ การเดินทัพกับความสำคัญของภาคตะวันออก
คนจันท์พันธุ์มังกร
ร่องรอยแห่งรากเหง้าและศรัทธา จีนเก่าชลบุรี-ระยอง
อานามสยามยุทธนอกพงศาวดาร : ร่องรอยสงคราม ขุนนางและคหบดีจีน
สงคราม ผู้คน และแผ่นดิน : ความรุ่งเรืองของจันทบุรีสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ร.ศ. 112 ฝรั่งเศสยึดจันทบุรี : การเผชิญหน้าบนห้วงเวลาที่พร่าเลือน
ชาวญวนจันทบุรี ผืนน้ำ แผ่นดิน และศรัทธา
เมืองศรีราชา สัมปทานไม้ รถไฟ และโรงเรียนกลางป่า
เที่ยวสวนเมืองจันท์ ยางพารา ทุเรียน พริกไทย
ส่องพลอยที่เมืองจันท์ เงาอดีต คนกุลา และนคราแห่งอัญมณี
สุดทางบูรพาที่เมืองตราด ประวัติศาสตร์ผู้คนและบาดแผล
แกะรอยเมืองแกลง
ปากน้ำประแส : เมืองท่า การประมง และการท่องเที่ยว
มิ่งขวัญรำไพพรรณี : กับวังสวนบ้านแก้วและเสื่อสมเด็จฯ
สำรับอาหารเมืองจันท์
ละครเท่งตุ๊กจันทบุรี : มหรสพพื้นบ้านกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์
คนชอง ชนเผ่าท้องถิ่นภาคตะวันออก
เมืองเก่าชลบุรี : พื้นที่ประวัติศาสตร์สำคัญภาคตะวันออก
สัตหีบ เมืองแห่งฐานทัพเรือไทย
บางละมุง ชลบุรี : คุณค่าของเมืองเก่ากับท่าเรือน้ำลึก
จุดเริ่มต้นการพัฒนาภาคตะวันออก
เราคือรากของแผ่นดิน
วังหน้ากับนาฏกรรมคลาสสิก ในกรุงรัตนโกสินทร์ยุคเริ่มแรก
วังหน้ากับนาฏกรรมยุคสยามใหม่
วังหน้ากับรากฐานการศึกษาทางนาฏกรรม
วังบางขุนพรหมกับบิดาแห่งดนตรีไทยสากล
วังบ้านดอกไม้
วังลดาวัลย์ นาฏกรรมการดนตรีสู่วิถีภาพยนตร์
ลุ่มทะเลสาบสงขลา ภูมิวัฒนธรรมการสร้างบ้านแปงเมือง
จากรากสู่เรา
จันทบุรีในสมัยอยุธยา : หัวเมืองสำคัญทางภาคตะวันออก
พระเจ้าตากตีเมืองจันท์ การเดินทัพกับความสำคัญของภาคตะวันออก
คนจันท์พันธุ์มังกร
ร่องรอยแห่งรากเหง้าและศรัทธา จีนเก่าชลบุรี-ระยอง
อานามสยามยุทธนอกพงศาวดาร : ร่องรอยสงคราม ขุนนางและคหบดีจีน
สงคราม ผู้คน และแผ่นดิน : ความรุ่งเรืองของจันทบุรีสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ร.ศ. 112 ฝรั่งเศสยึดจันทบุรี : การเผชิญหน้าบนห้วงเวลาที่พร่าเลือน
ชาวญวนจันทบุรี ผืนน้ำ แผ่นดิน และศรัทธา
เมืองศรีราชา สัมปทานไม้ รถไฟ และโรงเรียนกลางป่า
เที่ยวสวนเมืองจันท์ ยางพารา ทุเรียน พริกไทย
ส่องพลอยที่เมืองจันท์ เงาอดีต คนกุลา และนคราแห่งอัญมณี
สุดทางบูรพาที่เมืองตราด ประวัติศาสตร์ผู้คนและบาดแผล
แกะรอยเมืองแกลง
ปากน้ำประแส : เมืองท่า การประมง และการท่องเที่ยว
มิ่งขวัญรำไพพรรณี : กับวังสวนบ้านแก้วและเสื่อสมเด็จฯ
สำรับอาหารเมืองจันท์
ละครเท่งตุ๊กจันทบุรี : มหรสพพื้นบ้านกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์
คนชอง ชนเผ่าท้องถิ่นภาคตะวันออก
เมืองเก่าชลบุรี : พื้นที่ประวัติศาสตร์สำคัญภาคตะวันออก
สัตหีบ เมืองแห่งฐานทัพเรือไทย
บางละมุง ชลบุรี : คุณค่าของเมืองเก่ากับท่าเรือน้ำลึก
จุดเริ่มต้นการพัฒนาภาคตะวันออก
เราคือรากของแผ่นดิน
วังหน้ากับนาฏกรรมคลาสสิก ในกรุงรัตนโกสินทร์ยุคเริ่มแรก
วังหน้ากับนาฏกรรมยุคสยามใหม่
วังหน้ากับรากฐานการศึกษาทางนาฏกรรม
วังบางขุนพรหมกับบิดาแห่งดนตรีไทยสากล
วังบ้านดอกไม้
วังลดาวัลย์ นาฏกรรมการดนตรีสู่วิถีภาพยนตร์
ลุ่มทะเลสาบสงขลา ภูมิวัฒนธรรมการสร้างบ้านแปงเมือง