ปัจจุบันผู้ชมผู้ฟังสามารถแสดงความคิดเห็น ท้วงติง และตรวจสอบการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนได้ทันที ผ่านการตั้งกระทู้หรือเขียนคอมเมนต์ในสื่อออนไลน์ ซึ่งที่ผ่านมามีหลายเหตุการณ์ที่ผู้ชมไม่เห็นด้วยกับการนำเสนอของสื่อ และร่วมกันแสดงออกผ่านการสร้าง hashtag ต่าง ๆ เช่น hashtag คำว่า #สื่อไร้จรรณยาบรรณ หรือ #แบนสื่อ จนทำให้เกิดแรงกระเพื่อมต่อแวดวงสื่อมวลชนทุกแขนง ให้กับมาทบทวนการนำเสนอข้อมูลข่าวสารของตนเอง แต่การจับตาดูการทำงานของสื่อ ไม่ได้พึ่งเกิดขึ้นในยุคสมัยนี้ อย่างในประเทศอังกฤษ เคยมีเหตุการณ์ที่ประชาชนออกมาเรียกร้อง ต่อต้านการนำเสนอข่าวที่บิดเบือนและละเมิดสิทธิมนุษยชน จนทำให้สื่อเหล่านั้นถึงกับเสียหลัก ยอดขายตกต่ำและต้องปิดตัวลงไป อย่างในประเทศไทยเองก็มีหลายเหตุการณ์ทำให้เห็นว่าคนไทยให้ความสำคัญกับจริยธรรมของสื่อไม่น้อยไปกว่ากัน เช่น เหตุการณ์ "ถ้ำหลวง" ผู้ชมทางบ้านก็ได้แสดงความคิดเห็นขณะที่สื่อมวลชนรายงานข่าว เกาะติดภารกิจช่วยเหลือน้อง ๆ ทีมหมูป่าอะคาเดมี ซึ่งผู้ชมได้แสดงความเป็นห่วงเรื่องการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของญาติผู้สูญหาย การสัมภาษณ์ความรู้สึกของน้อง ๆ หลังออกจากถ้ำ หรือไม่ต้องการให้สื่อมวลชนกีดขวางการทำงานของเจ้าหน้าที่ เป็นต้น สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนห่วงใยต่อความรู้สึกของผู้ที่ตกเป็นข่าว มากกว่าการอยากรู้รายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หรือเหตุการณ์กราดยิงที่จังหวัดนครราชสีมา ประชาชนจำนวนมากก็ได้ออกมาเรียกร้องให้สื่อนำเสนอข่าวอย่างระมัดระวัง เน้นย้ำให้สื่อไม่เปิดเผยการทำงานของเจ้าหน้าที่ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ที่อยู่ในการเหตุการณ์เป็นสำคัญ การลุกขึ้นมาแสดงความคิดเห็นต่อการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน จะเป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ไปรู้เท่าทันสื่อกัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์