ตัวอย่างพ่อแม่จำนวนกว่า 84 คน และลูก ๆ ของพวกเขาอีก 166 คน ซึ่งมีช่วงอายุ 7 - 15 ขวบ ทั้งหมดอาศัยอยู่ในเมืองบอสตัน พบว่าผู้ชมที่ติดตามข่าวเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน หรือที่เรารู้จักในชื่อ 911 ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานหลายชั่วโมงต่อวัน เกิดภาวะ Trauma หรือ ภาวะสะเทือนใจอย่างรุนแรง ผลวิจัยเรื่องนี้ทำให้เห็นว่า แม้เราจะไม่ได้เป็นผู้ที่ประสบเหตุการณ์รุนแรงนั้นโดยตรง แต่การเสพสื่อที่สะท้อนภาพความรุนแรงก็สามารถทำให้เรานั้นมีภาวะเครียดและวิตกกังวล หรือ ภาวะ Trauma ได้เช่นเดียวกัน แล้วภาวะ Trauma คืออะไร สื่อแบบไหนที่จะทำให้เราเกิดภาวะ Trauma ได้ และเมื่อเกิดขึ้นแล้ว เราจะจัดการกับอารมณ์ความรู้สึกอย่างไร ไปรู้เท่าทันสื่อเรื่องนี้กัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
รู้เท่าทันสื่อ
พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันการออกแบบ News Feed
โฆษณาแฝงในรายการข่าว
ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์
รู้เท่าทันสื่อ
พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันการออกแบบ News Feed
โฆษณาแฝงในรายการข่าว
ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์