Online Shaming หรือการทำให้อับอายบนโลกออนไลน์นั้น ถูกคนในโซเชียลมีเดียใช้เป็นเครื่องมือในการลงโทษคนที่ถูกมองว่าทำผิดในสังคม โดยจะมีการรวมตัวกันของกลุ่มคนที่ไม่พอใจต่อพฤติกรรมนั้น แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล เช่น การขุดคุ้ยเรื่องส่วนตัว, การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล รวมไปถึงการกลั่นแกล้งรังแกเรื่องรูปร่างหน้าตา ในอีกแง่หนึ่งการทำให้อับอายบนโลกออนไลน์ ก็ทำให้เกิดการ "ตัดสิน" คนอื่นอย่างรวดเร็ว เพราะต่างคนก็ต่างตัดสินความผิดนั้นด้วยความรู้สึกของตัวเอง หรือ ที่เรียกว่าศาลเตี้ยในโลกออนไลน์ ทำไมคนในยุคดิจิตอลถึงสะท้อนปัญหาสังคมด้วยการประจานหรือทำให้อับอายผ่านโลกออนไลน์
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
รู้เท่าทันสื่อ
พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันการออกแบบ News Feed
โฆษณาแฝงในรายการข่าว
ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์
รู้เท่าทันสื่อ
พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันการออกแบบ News Feed
โฆษณาแฝงในรายการข่าว
ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์