จากรากสู่เรา
จากรากสู่เรา

ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์

หน้ารายการ
17 เม.ย. 66

ในเมืองเชียงใหม่มุสลิมที่สำคัญอยู่ 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ชาวมุสลิมเชื้อสายจีนยูนนาน หรือที่เรียกกันว่า “จีนฮ่อ” เริ่มอพยพเข้ามาตั้งแต่ปลายคริสตศตวรรษที่ 19 โดยกลุ่มแรก ๆ ที่เดินทำงเข้ามาเป็นพ่อค้าทางไกลที่เดินทางเข้ามาค้าขายพร้อมกองคาราวานม้าต่างหรือล่อต่าง บรรทุกสินค้าสำคัญ ได้แก่ ผ้าไหม ใบชา เครื่องทองเหลืองจากจีนและทิเบตเข้ามาขาย และขากลับจะซื้อผ้าฝ้ายดิบและเกลือจากไทยและลาวกลับไปขาย

พ่อค้าจีนฮ่อเหล่านี้เดินทางค้าขายอยู่แถบชายแดนไทย-พม่า และเข้ามาค้าขายแถบเชียงราย ตาก เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน มีการแวะพักในเมืองเชียงใหม่บ้างเป็นการชั่วคราว มีชุมชนจีนฮ่ออยู่ทั้งฝั่งวัดเกตและฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิง

ส่วนมุสลิมเชื้อสายเอเชียใต้มีหลายกลุ่มและมาจากหลายเมือง หลายประเทศ อพยพมาจากบังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย มีการอพยพเข้ามาหลายระลอก เป็นกลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเชียงใหม่ อพยพเข้ามาในช่วง พ.ศ.2393 นำโดยท่าน มูฮัมหมัด อุสมาน อาลี เมยายี ส่วนใหญ่มักอพยพมาทางบก ผ่านพม่าเข้าสู่เชียงใหม่ด้วยเส้นทางการค้าที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยใช้เส้นทาง จ.ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และเชียงราย ชุมชนที่ตั้งส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ช้างคลานในปัจจุบัน

และกลุ่มที่ 3 มุสลิมพม่า ซึ่งเป็นกลุ่มที่เข้ามาในภายหลังเมื่อช่วงประมาณ 30-40 ปีก่อน ผู้อพยพส่วนใหญ่พักพิงตามเมืองชายแดน ในขณะที่บางส่วนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณพื้นที่ชุมชนช้างคลาน โดยเส้นทางที่มุสลิมพม่าใช้สัญจรแบ่งได้ 2 เส้นทาง คือเส้นทางแม่สอด – เมียวดี และเส้นทางแม่สามแลบ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สาเหตุหลักที่มุสลิมพม่าเลือกชุมชนช้างคลานเป็ นจุดหมายปลายทางหลัก เนื่องจากระยะทางระหว่างพื้นที่ต้นทางและปลายทางที่ไม่ไกลกันมากและบริบททางด้านเศรษฐกิจของเชียงใหม่ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ดึงดูดมุสลิมพม่าให้เข้ามาตั้งถิ่นฐาน ซึ่งมุสลิมพม่าเป็นกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่อพยพเข้ามาในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ด้วยเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ

นอกจากนี้ยังมีมุสลิมปาทาน มุสลิมมาเลย์ที่อพยพเข้ามาในภายหลังเมื่อไม่กี่ปีมานี้ด้วยปัจจัยดึงดูดทางด้านเศรษฐกิจ

เนื่องจากชาวยูนานที่เข้ามาค้าขายในระยะแรก ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย บางคนจึงได้แต่งงานกับผู้หญิงมุสลิมเชื้อสายเอเชียใต้ที่อาศัยอยู่ในเชียงใหม่โดยชาวมุสลิมเชื้อสายเอเชียใต้จะยกย่องชาวมุสลิมเชื้อสายจีนว่าค้าขายเก่ง มีความสามารถทางการค้าธุรกิจและมีฐานะมั่นคงมากกว่าพวกตน การแต่งงานทำให้มีการผสมกลมกลืนเข้าด้วยกัน และเนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะเป็นพหุสังคมที่ประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติ หลายภาษา ไม่มีการผูกขาดหรือกีดกันอาชีพหรือโอกาสที่จะเข้าถึงทรัพยากร ทำให้มุสลิมทั้งสองกลุ่มมีโอาสในการประกอบอาชีพ พัฒนาตัวเองด้วยการศึกษาและพัฒนาฐานะได้ทั้งสองฝ่าย

ส่วนความสัมพันธ์กับคนพื้นเมืองชาวเชียงใหม่นั้น ชาวมุสลิมที่อาศัยอยู่มานาน มักเรียกตัวเองว่า “มุสลิมคนเมือง” เพราะมีการดำเนินชีวิต ทั้งภาษาและความเป็นอยู่ที่คล้ายคลึงและกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน ยกเว้นเพียงแค่นับถือศาสนาต่างกันเท่านั้น

ปัจจุบันชุมชนที่มุสลิมอาศัยอยู่มี 4 แห่ง ย่านช้างเผือกกับช้างคลาน ส่วนใหญ่เป็นชาวอินเดียเชื้อสายบังคลาเทศ ชาวปากีสถาน ส่วนมุสลิมเชื้อสายจีนยูนนานอาศัยอยู่บริเวณมัสยิดบ้านฮ่อ ย่านไนท์บาซาร์และมัสยิดอัตตักวา ย่านวัดเกต

ติดตามในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์ วันจันทร์ที่ 17 เมษายน 2566 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์

17 เม.ย. 66

ในเมืองเชียงใหม่มุสลิมที่สำคัญอยู่ 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ชาวมุสลิมเชื้อสายจีนยูนนาน หรือที่เรียกกันว่า “จีนฮ่อ” เริ่มอพยพเข้ามาตั้งแต่ปลายคริสตศตวรรษที่ 19 โดยกลุ่มแรก ๆ ที่เดินทำงเข้ามาเป็นพ่อค้าทางไกลที่เดินทางเข้ามาค้าขายพร้อมกองคาราวานม้าต่างหรือล่อต่าง บรรทุกสินค้าสำคัญ ได้แก่ ผ้าไหม ใบชา เครื่องทองเหลืองจากจีนและทิเบตเข้ามาขาย และขากลับจะซื้อผ้าฝ้ายดิบและเกลือจากไทยและลาวกลับไปขาย

พ่อค้าจีนฮ่อเหล่านี้เดินทางค้าขายอยู่แถบชายแดนไทย-พม่า และเข้ามาค้าขายแถบเชียงราย ตาก เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน มีการแวะพักในเมืองเชียงใหม่บ้างเป็นการชั่วคราว มีชุมชนจีนฮ่ออยู่ทั้งฝั่งวัดเกตและฝั่งตะวันตกของแม่น้ำปิง

ส่วนมุสลิมเชื้อสายเอเชียใต้มีหลายกลุ่มและมาจากหลายเมือง หลายประเทศ อพยพมาจากบังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย มีการอพยพเข้ามาหลายระลอก เป็นกลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเชียงใหม่ อพยพเข้ามาในช่วง พ.ศ.2393 นำโดยท่าน มูฮัมหมัด อุสมาน อาลี เมยายี ส่วนใหญ่มักอพยพมาทางบก ผ่านพม่าเข้าสู่เชียงใหม่ด้วยเส้นทางการค้าที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยใช้เส้นทาง จ.ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และเชียงราย ชุมชนที่ตั้งส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ช้างคลานในปัจจุบัน

และกลุ่มที่ 3 มุสลิมพม่า ซึ่งเป็นกลุ่มที่เข้ามาในภายหลังเมื่อช่วงประมาณ 30-40 ปีก่อน ผู้อพยพส่วนใหญ่พักพิงตามเมืองชายแดน ในขณะที่บางส่วนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณพื้นที่ชุมชนช้างคลาน โดยเส้นทางที่มุสลิมพม่าใช้สัญจรแบ่งได้ 2 เส้นทาง คือเส้นทางแม่สอด – เมียวดี และเส้นทางแม่สามแลบ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สาเหตุหลักที่มุสลิมพม่าเลือกชุมชนช้างคลานเป็ นจุดหมายปลายทางหลัก เนื่องจากระยะทางระหว่างพื้นที่ต้นทางและปลายทางที่ไม่ไกลกันมากและบริบททางด้านเศรษฐกิจของเชียงใหม่ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ดึงดูดมุสลิมพม่าให้เข้ามาตั้งถิ่นฐาน ซึ่งมุสลิมพม่าเป็นกลุ่มแรงงานข้ามชาติที่อพยพเข้ามาในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ด้วยเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ

นอกจากนี้ยังมีมุสลิมปาทาน มุสลิมมาเลย์ที่อพยพเข้ามาในภายหลังเมื่อไม่กี่ปีมานี้ด้วยปัจจัยดึงดูดทางด้านเศรษฐกิจ

เนื่องจากชาวยูนานที่เข้ามาค้าขายในระยะแรก ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย บางคนจึงได้แต่งงานกับผู้หญิงมุสลิมเชื้อสายเอเชียใต้ที่อาศัยอยู่ในเชียงใหม่โดยชาวมุสลิมเชื้อสายเอเชียใต้จะยกย่องชาวมุสลิมเชื้อสายจีนว่าค้าขายเก่ง มีความสามารถทางการค้าธุรกิจและมีฐานะมั่นคงมากกว่าพวกตน การแต่งงานทำให้มีการผสมกลมกลืนเข้าด้วยกัน และเนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะเป็นพหุสังคมที่ประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติ หลายภาษา ไม่มีการผูกขาดหรือกีดกันอาชีพหรือโอกาสที่จะเข้าถึงทรัพยากร ทำให้มุสลิมทั้งสองกลุ่มมีโอาสในการประกอบอาชีพ พัฒนาตัวเองด้วยการศึกษาและพัฒนาฐานะได้ทั้งสองฝ่าย

ส่วนความสัมพันธ์กับคนพื้นเมืองชาวเชียงใหม่นั้น ชาวมุสลิมที่อาศัยอยู่มานาน มักเรียกตัวเองว่า “มุสลิมคนเมือง” เพราะมีการดำเนินชีวิต ทั้งภาษาและความเป็นอยู่ที่คล้ายคลึงและกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน ยกเว้นเพียงแค่นับถือศาสนาต่างกันเท่านั้น

ปัจจุบันชุมชนที่มุสลิมอาศัยอยู่มี 4 แห่ง ย่านช้างเผือกกับช้างคลาน ส่วนใหญ่เป็นชาวอินเดียเชื้อสายบังคลาเทศ ชาวปากีสถาน ส่วนมุสลิมเชื้อสายจีนยูนนานอาศัยอยู่บริเวณมัสยิดบ้านฮ่อ ย่านไนท์บาซาร์และมัสยิดอัตตักวา ย่านวัดเกต

ติดตามในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์ วันจันทร์ที่ 17 เมษายน 2566 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

จากรากสู่เรา

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - ล่าสุด
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
24 ต.ค. 65
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
31 ต.ค. 65
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
7 พ.ย. 65
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
14 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
28 พ.ย. 65
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
5 ธ.ค. 65
ชุมชนมัสยิดยะวา
ชุมชนมัสยิดยะวา
12 ธ.ค. 65
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
19 ธ.ค. 65
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
26 ธ.ค. 65
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
13 ก.พ. 66
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
20 ก.พ. 66
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
27 ก.พ. 66
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
6 มี.ค. 66
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
13 มี.ค. 66
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
20 มี.ค. 66
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
27 มี.ค. 66
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
3 เม.ย. 66
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
10 เม.ย. 66
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
17 เม.ย. 66
กำลังเล่น...
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
17 เม.ย. 66
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
24 เม.ย. 66
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
1 พ.ค. 66
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
8 พ.ค. 66
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
22 พ.ค. 66
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
29 พ.ค. 66
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
5 มิ.ย. 66
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
12 มิ.ย. 66
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
19 มิ.ย. 66

จากรากสู่เรา

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - ล่าสุด
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
24 ต.ค. 65
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
31 ต.ค. 65
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
7 พ.ย. 65
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
14 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
28 พ.ย. 65
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
5 ธ.ค. 65
ชุมชนมัสยิดยะวา
ชุมชนมัสยิดยะวา
12 ธ.ค. 65
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
19 ธ.ค. 65
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
26 ธ.ค. 65
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
13 ก.พ. 66
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
20 ก.พ. 66
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
27 ก.พ. 66
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
6 มี.ค. 66
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
13 มี.ค. 66
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
20 มี.ค. 66
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
27 มี.ค. 66
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
3 เม.ย. 66
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
10 เม.ย. 66
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
17 เม.ย. 66
กำลังเล่น...
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
17 เม.ย. 66
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
24 เม.ย. 66
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
1 พ.ค. 66
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
8 พ.ค. 66
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
22 พ.ค. 66
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
29 พ.ค. 66
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
5 มิ.ย. 66
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
12 มิ.ย. 66
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
19 มิ.ย. 66

ละครย้อนยุค

ดูทั้งหมด

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย