เขตพื้นที่วัฒนธรรมพิเศษกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกะเหรี่ยง ถูกกำหนดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2553 โดยคณะรัฐมนตรี เป็นการยอมรับความหลากหลายของชาติพันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทย พร้อมกับสัญญาว่าจะส่งเสริมวัฒนธรรม วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ให้คงอยู่อย่างเป็นอัตลักษณ์ รวมถึงการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนในเขตที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยกับเขตพื้นที่ป่า
แต่ผ่านมาแล้ว 11 ปี มติคณะรัฐมนตรีในตอนนั้นไม่เพียงแต่จะไม่สามารถฟื้นฟูส่งเสริมวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ได้แล้ว ในทางตรงกันข้าม กลับกำลังถูกกดทับจากกฎหมายและการประกาศเขตพื้นที่ทับซ้อนเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตพวกเขามากยิ่งขึ้น เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ชาวกะเหรี่ยงปกาเกอะญอ จ.ลำปาง
ติดตามชมรายการ Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS วันพฤหัสบดีที่ 23 ธันวาคม 2564 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS
"โอมิครอน" ดับฝันเปิดประเทศ ?
สถานการณ์ปลาน้ำจืดเสี่ยงสูญพันธุ์
ชุมชนกะเหรี่ยงกับเขตวัฒนธรรมพิเศษ
สำรวจชุดตรวจโควิด-19 ของไทย
ฮัมดากับสิทธิทางการศึกษา
ตลาดค้าสัตว์ป่าออนไลน์ Forest to Facebook
หมูไทย 360 องศา
ทิศทางการศึกษาหลังโควิด-19
เปิดชีวิตแรงงานบนแพลตฟอร์ม
สิ่งแปลกปลอม บนชายหาด ?
Long COVID ชีวิตเรื้อรัง
สถานการณ์การค้าชายแดนภาคเหนือ
ลัวะ...ชาติเชื้อไทย
เหมาะสมหรือไม่ ? สร้างอ่างเก็บน้ำในป่ามรดกโลก
กว่าจะเป็น "โรคประจำถิ่น"
จาก "Climate Change" สู่เกษตรยั่งยืน
วิกฤต...เด็กเกิดน้อย ?
3 ทศวรรษเขื่อนปากมูล กระบวนการเยียวยาเพิ่งเริ่มต้น
ซับจำปา - ป่าจำปี และน้ำชั้นตื้น
กฎหมายทำลายธรรมชาติ ?
บัญชีม้า ถูกหลอก หรือฟอกเงิน ?
เอาป่าแลกอ่างเก็บน้ำ ?
สถานการณ์ตลาดผลไม้ไทยในต่างประเทศ
กรุงเทพฯ ที่ปรารถนา
กัญชากัญชง...เสรี หรือกีดกัน ?
ปีแห่งการแก้หนี้ครัวเรือน ?
ภัยไส้กรอก...จะตรวจสอบหลังเกิดเหตุ ?
ชะตากรรมของกะเหรี่ยงชายขอบ
นวัตกรรมคนปลอดภัย
ป่าชายเลน…เครื่องมือฟอกเขียวธุรกิจ หรือคาร์บอนเครดิตเพื่อชุมชน ?
Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS
"โอมิครอน" ดับฝันเปิดประเทศ ?
สถานการณ์ปลาน้ำจืดเสี่ยงสูญพันธุ์
ชุมชนกะเหรี่ยงกับเขตวัฒนธรรมพิเศษ
สำรวจชุดตรวจโควิด-19 ของไทย
ฮัมดากับสิทธิทางการศึกษา
ตลาดค้าสัตว์ป่าออนไลน์ Forest to Facebook
หมูไทย 360 องศา
ทิศทางการศึกษาหลังโควิด-19
เปิดชีวิตแรงงานบนแพลตฟอร์ม
สิ่งแปลกปลอม บนชายหาด ?
Long COVID ชีวิตเรื้อรัง
สถานการณ์การค้าชายแดนภาคเหนือ
ลัวะ...ชาติเชื้อไทย
เหมาะสมหรือไม่ ? สร้างอ่างเก็บน้ำในป่ามรดกโลก
กว่าจะเป็น "โรคประจำถิ่น"
จาก "Climate Change" สู่เกษตรยั่งยืน
วิกฤต...เด็กเกิดน้อย ?
3 ทศวรรษเขื่อนปากมูล กระบวนการเยียวยาเพิ่งเริ่มต้น
ซับจำปา - ป่าจำปี และน้ำชั้นตื้น
กฎหมายทำลายธรรมชาติ ?
บัญชีม้า ถูกหลอก หรือฟอกเงิน ?
เอาป่าแลกอ่างเก็บน้ำ ?
สถานการณ์ตลาดผลไม้ไทยในต่างประเทศ
กรุงเทพฯ ที่ปรารถนา
กัญชากัญชง...เสรี หรือกีดกัน ?
ปีแห่งการแก้หนี้ครัวเรือน ?
ภัยไส้กรอก...จะตรวจสอบหลังเกิดเหตุ ?
ชะตากรรมของกะเหรี่ยงชายขอบ
นวัตกรรมคนปลอดภัย
ป่าชายเลน…เครื่องมือฟอกเขียวธุรกิจ หรือคาร์บอนเครดิตเพื่อชุมชน ?