การชุมนุมทางการเมืองครั้งใหญ่รอบล่าสุด ทำให้หลากหลายกรณีปัญหาของชาวบ้านที่หมักหมมนานปีถูกนำมาพูดถึง และสิ่งที่ถูกย้ำคือเรื่องความเหลื่อมล้ำและการบังคับใช้กฎหมาย ดังนั้นการแก้ไขกฎหมายหลักอย่างรัฐธรรมนูญ จึงเป็นทางออกที่จับต้องได้สำหรับใครหลาย ๆ คน โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์ทางการเมืองที่ดูตึงเครียด
ชวนพูดคุยว่าด้วยเรื่อง "ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ" กับ "เป๋า - ยิ่งชีพ อัชฌานนท์" ผู้จัดการโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw ซึ่งทำกิจกรรมรวบรวมรายชื่อ เพื่อยื่นเสนอให้มีการแก้รัฐธรรมนูญได้กว่า 100,000 รายชื่อ ภายในระยะเวลา 43 วัน และยังเป็นหนึ่งในผู้ร่วมสังเกตการณ์การชุมนุมในครั้งนี้
อนุสรณ์ อุณโณ อาจารย์ประจำสาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานคณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน หรือ ครช. ซึ่งวางเป้าหมายสื่อสารและรณรงค์เกี่ยวปัญหารัฐธรรมนูญปัจจุบัน และแสวงหาฉันทามติร่วมต่อการสร้างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
ติดตามได้ในรายการนักข่าวพลเมือง C-Site วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม 2563 เวลา 13.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
นักข่าวพลเมือง C-Site
ทางเลือกจะนะกับการพัฒนา
แรงสะเทือนจากบอมเบย์เบอร์มา สู่ส่วนร่วมจัดการเมืองเก่า
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ต่อโครงการอุตสาหกรรมจะนะ
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงในชีวิตและเมล็ดพันธุ์
ท่องเที่ยวไทย หลังคลายล็อก
NexStep หลัง 240 วันสำรวจสิทธิที่ดิน
ห้องเรียนทักษะชีวิต สู้โควิด-19
มุมมองครูหลังคลายล็อก : บทบาทการสอนแห่งอนาคต
สัปดาห์แห่งความหลากหลายทางชาติพันธุ์
เตรียมรับมือภัยพิบัติ
การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่
เมืองฉบับออกแบบได้
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงาน
ห้องเรียนประชาธิปไตย
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุง
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออก
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้อง
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเล
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควัน
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19
Next step จะนะ ?
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้ง
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูน
นักข่าวพลเมือง C-Site
ทางเลือกจะนะกับการพัฒนา
แรงสะเทือนจากบอมเบย์เบอร์มา สู่ส่วนร่วมจัดการเมืองเก่า
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ต่อโครงการอุตสาหกรรมจะนะ
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงในชีวิตและเมล็ดพันธุ์
ท่องเที่ยวไทย หลังคลายล็อก
NexStep หลัง 240 วันสำรวจสิทธิที่ดิน
ห้องเรียนทักษะชีวิต สู้โควิด-19
มุมมองครูหลังคลายล็อก : บทบาทการสอนแห่งอนาคต
สัปดาห์แห่งความหลากหลายทางชาติพันธุ์
เตรียมรับมือภัยพิบัติ
การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่
เมืองฉบับออกแบบได้
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงาน
ห้องเรียนประชาธิปไตย
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุง
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออก
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้อง
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเล
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควัน
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19
Next step จะนะ ?
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้ง
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูน