อาหารประจำท้องถิ่น คือสิ่งสะท้อนอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ เพราะส่วนประกอบหลักคือการใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นนั้น ๆ มารังสรรค์เป็นเมนูเฉพาะตัว จนกลายเป็นอาหารเอกลักษณ์ของชุมชน ทั้งสมุนไพร เนื้อสัตว์ รวมไปถึงวิธีการปรุง ที่ถูกถ่ายทอดมาส่งต่อกันมา สิ่งสำคัญที่จะทำให้ยกระดับอาหารพื้นถิ่นในเมืองกาญจน์ได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารจากชาติพันธุ์ต่าง ๆ อาหารพื้นถิ่นของเมืองกาญจน์เอง จุดขายหลักและเป็นตัวชี้วัดได้ว่าจะได้รับความนิยมต่อไปหรือไม่ ก็คือ "สุขอนามัย" ภาพลักษณ์ของอาหารที่ปะปนเข้ามา การเลือกวัตถุดิบ เป็นต้น
ติดตามเรื่องราวการสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม ผ่านทุนวัฒนธรรมอาหารและทรัพยากรท้องถิ่น ด้วยคุณค่า Creative Cultural Capital ได้ที่ www.thaipbs.or.th/CookCulture
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว
รสหวานจากตาลโตนด
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : "ตาลโตนด" ทรัพยากรมากคุณค่า
มีสไตล์ที่เมืองเพชร
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : เสน่ห์เมืองจันทบุรี
วิถีการกินสไตล์คนจันทบุรี
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : ยกระดับ "ปรับเพื่อเปลี่ยน" ที่เมืองกาญจน์
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : วิถีมอญเมืองกาญจน์
หน่อไม้ตากแห้ง การถนอมอาหารที่ชูรสชาติของหน่อไม้
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : เผ็ดร้อน หอม ฉุน กับพริกไทยเมืองจันท์
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : อาโวคาโดคาร์บอนต่ำ
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : กล้วยหอมส่งออก จากหนองบัวแดง
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว
รสหวานจากตาลโตนด
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : "ตาลโตนด" ทรัพยากรมากคุณค่า
มีสไตล์ที่เมืองเพชร
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : เสน่ห์เมืองจันทบุรี
วิถีการกินสไตล์คนจันทบุรี
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : ยกระดับ "ปรับเพื่อเปลี่ยน" ที่เมืองกาญจน์
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : วิถีมอญเมืองกาญจน์
หน่อไม้ตากแห้ง การถนอมอาหารที่ชูรสชาติของหน่อไม้
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : เผ็ดร้อน หอม ฉุน กับพริกไทยเมืองจันท์
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : อาโวคาโดคาร์บอนต่ำ
เกร็ดน่ารู้คู่ครัว : กล้วยหอมส่งออก จากหนองบัวแดง