คน Gen Z ที่ปัจจุบันเข้าสู่ตลาดแรงงานแล้ว ถูกมองว่าไม่ทนงาน เพราะพวกเขานั้นเชื่อว่า สมดุลชีวิตเรื่องความสุขในที่ทํางานมีความสําคัญไม่แพ้เรื่องของผลตอบแทน ทําไมจึงเป็นแบบนั้น และในมิติใด คลิปนี้มีคําตอบ
จากรายงานของ Ran Stand, Work Monitor ปี 2022 ที่สํารวจพนักงาน 35,000 คน ใน 34 ตลาด แสดงให้เห็นว่า ทัศนคติของคนรุ่นใหม่ เปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างมาก โดยพนักงานมากกว่าครึ่งหนึ่ง (56%) ที่มีอายุ 18-24 ปี หรือ Gen Z บอกว่า แม้จะมีงานที่ให้ผลตอบแทนแล้ว แต่ถ้างานนั้นไม่สามารถทําให้พวกเขามีความสุข พวกเขายอมที่จะลาออก นอกจากนี้ 40% ของGen Z ยังบอกว่า พวกเขาจะยอมว่างงานมากกว่าที่จะทํางานในสิ่งที่ตัวเองไม่ชอบ
มากกว่า 3 ใน 4 ของGen Z (ประมาณ 75%) บอกว่า พวกเขามีความหวังว่า การทํางานจะต้องมีความสุข และประสบการณ์ในการทํางานจะต้องเติมเต็มวิถีชีวิตของพวกเขา ซึ่งสูงกว่าจํานวนประชากรที่มีอายุมากกว่า
43% ของกลุ่มตัวอย่างบอกว่า พวกเขาจะไม่ทํางานร่วมกับบริษัทที่ค่านิยมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมไม่สอดคล้องกับค่านิยมของพวกเขา นอกจากนี้ 41% ยังบอกว่า พวกเขาไม่อยากทํางานในบริษัทที่ไม่ส่งเสริมความหลากหลาย
พนักงานรุ่นใหม่ไม่ได้มองแค่เรื่องของผลตอบแทน แต่ยังคํานึงถึงผลประโยชน์อื่นๆ เช่น วันหยุด การดูแลสุขภาพ และการเข้าถึงผลประโยชน์การเกษียณอายุ รวมถึงการฝึกอบรมพัฒนาตัวเอง
75% ของพนักงานบอกว่า สถานที่ทํางานที่มีความยืดหยุ่นเป็นสิ่งสําคัญ และ 83% บอกว่าชั่วโมงที่ยืดหยุ่นในการใช้ชีวิตเป็นสิ่งที่สําคัญ แต่เพียง 25% ของนายจ้างให้ความสําคัญกับเรื่องความยืดหยุ่น
80% ของผู้ตอบแบบสอบถามจากทุกกลุ่มอายุ บอกว่าพวกเขาอยากมีส่วนร่วมในโปรแกรมการเรียนรู้และพัฒนาองค์กร และ 60% ต้องการ workshop เกี่ยวกับการหารายได้มากขึ้นและการบรรลุความสมดุลในการทํางาน แต่เพียง 25% ที่บอกว่าได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาในที่ทํางานเป็นอย่างดี
จะเห็นได้ว่า ช่องว่างระหว่างความคาดหวังของ Gen Z และสิ่งที่นายจ้างตอบสนองนั้นยังมีอยู่ ซึ่งนายจ้างจําเป็นต้องทําความเข้าใจและปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของค่านิยมและความต้องการในการทํางานของคนรุ่นใหม่
https://www.thaipbs.or.th/program/Economics101/episodes/104134
https://www.thaipbs.or.th/program/Economics101/watch/vkH16U
รับชมรายการเศรษฐกิจติดบ้าน ได้ในรายการวันใหม่วาไรตี้ วันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 8.00 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือชมทุกตอนได้ทาง https://www.thaipbs.or.th/program/Economics101
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
เศรษฐกิจติดบ้าน
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนไทยนิยมฝากเงินแบบไหนในยุคนี้ ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : เปิดวิธีเช็คสัญญาณองค์กร Toxic
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนไทยมีบัญชีออมทรัพย์ 120 ล้านบัญชี
เศรษฐกิจติดบ้าน : สำรวจเศรษฐกิจไทย ใครคือจุดอ่อน ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : ขึ้นค่าแรงไว ตายยกแผงทั้งผู้ประกอบการและลูกจ้าง
เศรษฐกิจน่ารู้ : ฟินแลนด์ดินแดนแห่งความสุข แต่สถิติฆ่าตัวตายสูง
เศรษฐกิจน่ารู้ : เมืองท่องเที่ยวทั่วโลกเริ่มเก็บเงินค่าเข้าเมือง
เศรษฐกิจน่ารู้ : PANK ผู้หญิงยุคใหม่สายเปย์หลาน
เศรษฐกิจน่ารู้ : ตลาดหุ้นไทย...ทำไมถึงไม่น่าลงทุน
เศรษฐกิจน่ารู้ : คน GEN Z รู้สึกแปลกแยกกับวัฒนธรรมการทำงานแบบเก่า
เศรษฐกิจน่ารู้ : ลูกหนี้ กยศ. เฉียดแสนล้าน ทุบสถิติวิกฤตต้มยำกุ้ง
เศรษฐกิจน่ารู้ : พนักงานออฟฟิศเกินครึ่งของโลกใช้ AI ทำงานเป็นผู้ช่วย
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนสูงวัยญี่ปุ่น 80% ตายอย่างโดดเดี่ยว
เศรษฐกิจน่ารู้ : ควันจากครัวใช้ฟืนคร่าชีวิตคนปีละ 4 ล้าน
เศรษฐกิจน่ารู้ : ธารน้ำแข็งละลายที่เวเนซุเอลา ส่งผลถึงเราอย่างไร ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนไทยยิ่งแก่ยิ่งจน
เศรษฐกิจน่ารู้ : อนาคตสิงคโปร์ในมือลอว์เรนซ์ หว่อง
เศรษฐกิจน่ารู้ : สมรภูมิแอปพลิเคชันส่งอาหาร ใครรอด ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : มาเลเซียไปต่อไม่ไหว ขึ้นราคาดีเซล 50 %
เศรษฐกิจน่ารู้ : จีนทุ่มเงิน 2 ล้านล้าน กู้วิกฤตฟองสบู่อสังหาฯ
หมอลาออก Work ไร้ Balance ในวงการแพทย์ : เศรษฐกิจน่ารู้
“ทัวร์ทุบตลาด” กลลวงกระทบท่องเที่ยวไทย : เศรษฐกิจน่ารู้
เศรษฐกิจไทยไร้เสน่ห์ดึงดูดต่างชาติลงทุน ? : เศรษฐกิจน่ารู้
ยุคทองโรงเรียนนานาชาติ ธุรกิจเติบโตกว่าแสนล้านบาท : เศรษฐกิจน่ารู้
หมดยุค work life balance ต้อง work smart ถึงจะรอด | เศรษฐกิจน่ารู้
RETURN TO OFFICE มุกใหม่นายจ้างบีบให้ลาออก | เศรษฐกิจน่ารู้
LOUD BUDGETING อวดประหยัดให้โลกรู้ | เศรษฐกิจน่ารู้
เปิดสถิติความสุขของคนไทย ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง : เศรษฐกิจน่ารู้
ออสเตรเลียห้ามตามงานนอกเวลา ฝ่าฝืนปรับ 2 ล้านบาท : เศรษฐกิจน่ารู้
ญี่ปุ่นเผชิญปัญหา สาวโสดล้นโตเกียว : เศรษฐกิจน่ารู้
ทำไมผู้บริหารระดับกลาง ต้องรับบทร้ายในองค์กร | เศรษฐกิจน่ารู้
Gen Z ไม่ทน ยอมตกงานถ้าไม่มีความสุข | เศรษฐกิจน่ารู้
ว่ายน้ำไปทำงาน กิจกรรมยอดฮิต ของชาวสวตเซอร์แลนด์ | เศรษฐกิจน่ารู้
TIK TOK แหล่งรวมข้อมูลเท็จทางการแพทย์ | เศรษฐกิจน่ารู้
สิงคโปร์กำหนดอายุขั้นต่ำในการเล่นโซเชียล | เศรษฐกิจน่ารู้
เศรษฐกิจติดบ้าน
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนไทยนิยมฝากเงินแบบไหนในยุคนี้ ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : เปิดวิธีเช็คสัญญาณองค์กร Toxic
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนไทยมีบัญชีออมทรัพย์ 120 ล้านบัญชี
เศรษฐกิจติดบ้าน : สำรวจเศรษฐกิจไทย ใครคือจุดอ่อน ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : ขึ้นค่าแรงไว ตายยกแผงทั้งผู้ประกอบการและลูกจ้าง
เศรษฐกิจน่ารู้ : ฟินแลนด์ดินแดนแห่งความสุข แต่สถิติฆ่าตัวตายสูง
เศรษฐกิจน่ารู้ : เมืองท่องเที่ยวทั่วโลกเริ่มเก็บเงินค่าเข้าเมือง
เศรษฐกิจน่ารู้ : PANK ผู้หญิงยุคใหม่สายเปย์หลาน
เศรษฐกิจน่ารู้ : ตลาดหุ้นไทย...ทำไมถึงไม่น่าลงทุน
เศรษฐกิจน่ารู้ : คน GEN Z รู้สึกแปลกแยกกับวัฒนธรรมการทำงานแบบเก่า
เศรษฐกิจน่ารู้ : ลูกหนี้ กยศ. เฉียดแสนล้าน ทุบสถิติวิกฤตต้มยำกุ้ง
เศรษฐกิจน่ารู้ : พนักงานออฟฟิศเกินครึ่งของโลกใช้ AI ทำงานเป็นผู้ช่วย
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนสูงวัยญี่ปุ่น 80% ตายอย่างโดดเดี่ยว
เศรษฐกิจน่ารู้ : ควันจากครัวใช้ฟืนคร่าชีวิตคนปีละ 4 ล้าน
เศรษฐกิจน่ารู้ : ธารน้ำแข็งละลายที่เวเนซุเอลา ส่งผลถึงเราอย่างไร ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : คนไทยยิ่งแก่ยิ่งจน
เศรษฐกิจน่ารู้ : อนาคตสิงคโปร์ในมือลอว์เรนซ์ หว่อง
เศรษฐกิจน่ารู้ : สมรภูมิแอปพลิเคชันส่งอาหาร ใครรอด ?
เศรษฐกิจน่ารู้ : มาเลเซียไปต่อไม่ไหว ขึ้นราคาดีเซล 50 %
เศรษฐกิจน่ารู้ : จีนทุ่มเงิน 2 ล้านล้าน กู้วิกฤตฟองสบู่อสังหาฯ
หมอลาออก Work ไร้ Balance ในวงการแพทย์ : เศรษฐกิจน่ารู้
“ทัวร์ทุบตลาด” กลลวงกระทบท่องเที่ยวไทย : เศรษฐกิจน่ารู้
เศรษฐกิจไทยไร้เสน่ห์ดึงดูดต่างชาติลงทุน ? : เศรษฐกิจน่ารู้
ยุคทองโรงเรียนนานาชาติ ธุรกิจเติบโตกว่าแสนล้านบาท : เศรษฐกิจน่ารู้
หมดยุค work life balance ต้อง work smart ถึงจะรอด | เศรษฐกิจน่ารู้
RETURN TO OFFICE มุกใหม่นายจ้างบีบให้ลาออก | เศรษฐกิจน่ารู้
LOUD BUDGETING อวดประหยัดให้โลกรู้ | เศรษฐกิจน่ารู้
เปิดสถิติความสุขของคนไทย ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง : เศรษฐกิจน่ารู้
ออสเตรเลียห้ามตามงานนอกเวลา ฝ่าฝืนปรับ 2 ล้านบาท : เศรษฐกิจน่ารู้
ญี่ปุ่นเผชิญปัญหา สาวโสดล้นโตเกียว : เศรษฐกิจน่ารู้
ทำไมผู้บริหารระดับกลาง ต้องรับบทร้ายในองค์กร | เศรษฐกิจน่ารู้
Gen Z ไม่ทน ยอมตกงานถ้าไม่มีความสุข | เศรษฐกิจน่ารู้
ว่ายน้ำไปทำงาน กิจกรรมยอดฮิต ของชาวสวตเซอร์แลนด์ | เศรษฐกิจน่ารู้
TIK TOK แหล่งรวมข้อมูลเท็จทางการแพทย์ | เศรษฐกิจน่ารู้
สิงคโปร์กำหนดอายุขั้นต่ำในการเล่นโซเชียล | เศรษฐกิจน่ารู้