ร่วมพูดคุยกับผู้ดำเนินรายการสถานีประชาชนทั้ง 2 ท่าน คุณธิดารัตน์ อนันตรกิตติ และคุณธีรเดช งามเหลือ ที่จะมาบอกเล่าแนวคิด ความตั้งใจ และเบื้องหลังการทำรายการสถานีประชาชน พื้นที่สื่อกลางเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาของประชาชน ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ที่ทางรายการได้ปรับเปลี่ยนบทบาทมาเป็นศูนย์ประสานฉุกเฉินไทยพีบีเอสสู้โควิด-19 เพื่อรับเรื่องราวจากผู้ป่วยแล้วจึงประสานต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ติดตามชมรายการ ก่อร่างสร้างสื่อ ตอน “สถานีประชาชน” สื่อสาธารณะกับบทบาทที่พึ่งพาของประชาชน วันอังคารที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 22.15 - 22.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live และทางพอดคาสต์ที่เว็บไซต์ www.thaipbspodcast.com
ก่อร่างสร้างสื่อ
จาก 19 ปีที่ร่วมคิด สู่ 14 ปีแห่งการลงมือทำ
ก่อเกิดสื่อสาธารณะ
ย้อนอดีต จุดเริ่มต้นสื่อสาธารณะ
ถอดบทเรียนทีวีเสรี ก่อนเกิดสื่อสาธารณะ
สื่อสาธารณะ ต้นแบบที่เติมเต็มสังคมไทย
จุดตั้งต้นกระบวนการขับเคลื่อนสื่อสาธารณะ
สื่อสาธารณะที่ยึดโยงกับประชาชน
บทบาทของสื่อสาธารณะแห่งแรกของอาเซียน
สื่อสาธารณะกับเยาวชน
สื่อสาธารณะกับก้าวแรกของทีวีภูมิภาค
สื่อสาธารณะกับการขับเคลื่อนสังคมยุคดิจิทัล
สื่อสาธารณะกับนักข่าวพลเมือง
นักข่าวพลเมืองกับการขับเคลื่อนสังคม
“สื่อพลเมือง” ฟันเฟืองของสื่อสาธารณะ
“หนังพาไป” บนเส้นทางสื่อสาธารณะ
สื่อสาธารณะ พื้นที่สร้างสรรค์เพื่อเด็กและเยาวชน
สื่อสาธารณะกับการสร้างสรรค์รายการเด็ก
ก่อร่างสร้าง “บ้านนักวิทยาศาสตร์ตัวน้อย”
เบื้องหลังรายการเด็กของสื่อสาธารณะ
เบื้องหลังละครอิงประวัติศาสตร์ “จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี”
กว่าจะเป็น “ละครสื่อสาธารณะ”
สื่อสาธารณะกับเส้นทางบินของ “หนูน้อยจ้าวเวหา”
พัฒนาการสื่อดิจิทัลของสื่อสาธารณะ
“สื่อสาธารณะ” กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
“แลต๊ะแลใต้” กระบอกเสียงเพื่อการพัฒนาชุมชน
“อยู่ดีมีแฮง” เสียงสะท้อนจากมุมมองของคนอีสาน
“The North องศาเหนือ” ปฏิบัติการสื่อสารของพลเมืองภาคเหนือ
เบื้องหลังรายการเกษตรสร้างแรงบันดาลใจ “มหาอำนาจบ้านนา”
“สถานีประชาชน” สื่อสาธารณะกับบทบาทที่พึ่งพาของประชาชน
สื่อสาธารณะกับการผลิตสื่อบันเทิงอย่างเท่าเทียม
ก่อร่างสร้างสื่อ
จาก 19 ปีที่ร่วมคิด สู่ 14 ปีแห่งการลงมือทำ
ก่อเกิดสื่อสาธารณะ
ย้อนอดีต จุดเริ่มต้นสื่อสาธารณะ
ถอดบทเรียนทีวีเสรี ก่อนเกิดสื่อสาธารณะ
สื่อสาธารณะ ต้นแบบที่เติมเต็มสังคมไทย
จุดตั้งต้นกระบวนการขับเคลื่อนสื่อสาธารณะ
สื่อสาธารณะที่ยึดโยงกับประชาชน
บทบาทของสื่อสาธารณะแห่งแรกของอาเซียน
สื่อสาธารณะกับเยาวชน
สื่อสาธารณะกับก้าวแรกของทีวีภูมิภาค
สื่อสาธารณะกับการขับเคลื่อนสังคมยุคดิจิทัล
สื่อสาธารณะกับนักข่าวพลเมือง
นักข่าวพลเมืองกับการขับเคลื่อนสังคม
“สื่อพลเมือง” ฟันเฟืองของสื่อสาธารณะ
“หนังพาไป” บนเส้นทางสื่อสาธารณะ
สื่อสาธารณะ พื้นที่สร้างสรรค์เพื่อเด็กและเยาวชน
สื่อสาธารณะกับการสร้างสรรค์รายการเด็ก
ก่อร่างสร้าง “บ้านนักวิทยาศาสตร์ตัวน้อย”
เบื้องหลังรายการเด็กของสื่อสาธารณะ
เบื้องหลังละครอิงประวัติศาสตร์ “จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี”
กว่าจะเป็น “ละครสื่อสาธารณะ”
สื่อสาธารณะกับเส้นทางบินของ “หนูน้อยจ้าวเวหา”
พัฒนาการสื่อดิจิทัลของสื่อสาธารณะ
“สื่อสาธารณะ” กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
“แลต๊ะแลใต้” กระบอกเสียงเพื่อการพัฒนาชุมชน
“อยู่ดีมีแฮง” เสียงสะท้อนจากมุมมองของคนอีสาน
“The North องศาเหนือ” ปฏิบัติการสื่อสารของพลเมืองภาคเหนือ
เบื้องหลังรายการเกษตรสร้างแรงบันดาลใจ “มหาอำนาจบ้านนา”
“สถานีประชาชน” สื่อสาธารณะกับบทบาทที่พึ่งพาของประชาชน
สื่อสาธารณะกับการผลิตสื่อบันเทิงอย่างเท่าเทียม