พื้นที่บริเวณคาบสมุทรสทิงพระและเมืองเก่าสงขลาที่บ่อยางนั้น เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญมาตั้งแต่ครั้งอดีตอาจย้อนไปได้ถึง 1,000 ปีก่อน เป็นแหล่งอารยธรรมและวัฒนธรรมสำคัญที่ยังคงมีร่องรอยหลงเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะที่เมืองเก่าสงขลา ตำบลบ่อยาง ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นจนมีคนบอกว่าที่นี่เป็นเสมือนเมืองจีน เล็ก ๆ ที่อยู่นอกเมืองจีน เมืองเก่าสงขลาที่บ่อยางแห่งนี้เคยผ่านยุคที่มีความรุ่งเรืองทั้งในด้านของเศรษฐกิจ และวิถีชีวิตของผู้คน แต่เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและการเดินทางก็ทำให้ที่นี่ซบเซาลงอย่างน่าใจหาย ร้านค้า โรงภาพยนตร์ หรือแม้แต่บ้านเรือนก็ถูกปิด จนเมื่อปี 2552 ได้เกิดเวทีประชาคมเพื่อสอบถาม ความคิดเห็นของคนในพื้นที่ในการที่จะผลักดันการพัฒนาเมืองสงขลาขึ้นสู่การเป็นเมืองมรดกโลก เมืองเก่าสงขลานั้นยังคงเป็นเมืองที่มีชีวิต มีผู้คนที่เป็นคนดั้งเดิมอยู่อาศัยและทำกิจการ อย่างเช่นร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้านขายของที่ระลึก โปสการ์ด เป็นเมืองที่มีความทรงจำร่วมของผู้คนซึ่งยังคงได้รับการบอกเล่าสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ความทรงจำต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นเสน่ห์ที่ชวนให้ผู้คนจากหลากหลายพื้นที่เข้ามาสัมผัสและเรียนรู้ เป็นมรดกตกทอดที่มีความสำคัญที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อคนในแต่ละยุคสมัย
ติดตามได้ ในรายการติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอน เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย