สำรวจความเป็นมาในอีกมุมของวังหน้ากับการวางรากฐานการศึกษาด้านนาฏกรรม
หลังสิ้นกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและมีการยกเลิกตำแหน่งพระราชวังบวรสถานมงคลฃพื้นที่บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้าได้ถูกปรับเปลี่ยนกลายเป็นพื้นที่สำคัญมากมาย โดยเฉพาะเรื่องของการศึกษาทางด้านนาฏกรรม
ในปี พ.ศ. 2477 หลวงวิจิตรวาทการขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากรได้มีจัดตั้ง “โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์” ขึ้น เพื่อดำเนินการสอนวิชาสามัญและศิลปะ ผลิตบุคลากรที่จะมาดูแลรับผิดชอบงานด้านช่างศิลป์และมรดกทางศิลปวัฒนธรรมสาขาต่าง ๆ
หลังเกิดเหตุสงครามโลกครั้งที่ 2 พื้นที่บริเวณโรงเรียนได้รับผลกระทบ ตัวอาคารเรียนถูกระเบิด ทำให้โรงเรียนหยุดการเรียนการสอนไป จนกระทั่ง พ.ศ. 2488 โรงเรียนกลับมาเปิดอีกครั้ง และเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนนาฏศิลป” และพัฒนาเป็น “วิทยาลัยนาฏศิลป” สถาบันการศึกษาที่มุ่งผลิตครูและบุคลากรสายอาชีพ ในด้านนาฏศิลป์ ดนตรี มีการจัดการเรียนการสอนอันประกอบด้วยการศึกษาวิชาสามัญและศิลปะตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ และมีการขยาย “วิทยาลัยนาฏศิลป” ออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ
ปัจจุบัน “วิทยาลัยนาฏศิลป” ได้ยกระดับการศึกษาวิชาเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรมให้สูงขึ้นถึงระดับปริญญาเป็น “สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์” ที่เปิดสอนจนถึงระดับปริญญาเอก
ติดตามได้ในรายการจากรากสู่เรา ตอน วังหน้ากับรากฐานการศึกษาทางนาฏกรรม วันจันทร์ที่ 18 ธันวาคม 2566 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
จันทบุรีในสมัยอยุธยา : หัวเมืองสำคัญทางภาคตะวันออก
พระเจ้าตากตีเมืองจันท์ การเดินทัพกับความสำคัญของภาคตะวันออก
คนจันท์พันธุ์มังกร
ร่องรอยแห่งรากเหง้าและศรัทธา จีนเก่าชลบุรี-ระยอง
อานามสยามยุทธนอกพงศาวดาร : ร่องรอยสงคราม ขุนนางและคหบดีจีน
สงคราม ผู้คน และแผ่นดิน : ความรุ่งเรืองของจันทบุรีสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ร.ศ. 112 ฝรั่งเศสยึดจันทบุรี : การเผชิญหน้าบนห้วงเวลาที่พร่าเลือน
ชาวญวนจันทบุรี ผืนน้ำ แผ่นดิน และศรัทธา
เมืองศรีราชา สัมปทานไม้ รถไฟ และโรงเรียนกลางป่า
เที่ยวสวนเมืองจันท์ ยางพารา ทุเรียน พริกไทย
ส่องพลอยที่เมืองจันท์ เงาอดีต คนกุลา และนคราแห่งอัญมณี
สุดทางบูรพาที่เมืองตราด ประวัติศาสตร์ผู้คนและบาดแผล
แกะรอยเมืองแกลง
ปากน้ำประแส : เมืองท่า การประมง และการท่องเที่ยว
มิ่งขวัญรำไพพรรณี : กับวังสวนบ้านแก้วและเสื่อสมเด็จฯ
สำรับอาหารเมืองจันท์
ละครเท่งตุ๊กจันทบุรี : มหรสพพื้นบ้านกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์
คนชอง ชนเผ่าท้องถิ่นภาคตะวันออก
เมืองเก่าชลบุรี : พื้นที่ประวัติศาสตร์สำคัญภาคตะวันออก
สัตหีบ เมืองแห่งฐานทัพเรือไทย
บางละมุง ชลบุรี : คุณค่าของเมืองเก่ากับท่าเรือน้ำลึก
จุดเริ่มต้นการพัฒนาภาคตะวันออก
เราคือรากของแผ่นดิน
วังหน้ากับนาฏกรรมคลาสสิก ในกรุงรัตนโกสินทร์ยุคเริ่มแรก
วังหน้ากับนาฏกรรมยุคสยามใหม่
วังหน้ากับรากฐานการศึกษาทางนาฏกรรม
วังบางขุนพรหมกับบิดาแห่งดนตรีไทยสากล
วังบ้านดอกไม้
วังลดาวัลย์ นาฏกรรมการดนตรีสู่วิถีภาพยนตร์
ลุ่มทะเลสาบสงขลา ภูมิวัฒนธรรมการสร้างบ้านแปงเมือง
จากรากสู่เรา
จันทบุรีในสมัยอยุธยา : หัวเมืองสำคัญทางภาคตะวันออก
พระเจ้าตากตีเมืองจันท์ การเดินทัพกับความสำคัญของภาคตะวันออก
คนจันท์พันธุ์มังกร
ร่องรอยแห่งรากเหง้าและศรัทธา จีนเก่าชลบุรี-ระยอง
อานามสยามยุทธนอกพงศาวดาร : ร่องรอยสงคราม ขุนนางและคหบดีจีน
สงคราม ผู้คน และแผ่นดิน : ความรุ่งเรืองของจันทบุรีสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ร.ศ. 112 ฝรั่งเศสยึดจันทบุรี : การเผชิญหน้าบนห้วงเวลาที่พร่าเลือน
ชาวญวนจันทบุรี ผืนน้ำ แผ่นดิน และศรัทธา
เมืองศรีราชา สัมปทานไม้ รถไฟ และโรงเรียนกลางป่า
เที่ยวสวนเมืองจันท์ ยางพารา ทุเรียน พริกไทย
ส่องพลอยที่เมืองจันท์ เงาอดีต คนกุลา และนคราแห่งอัญมณี
สุดทางบูรพาที่เมืองตราด ประวัติศาสตร์ผู้คนและบาดแผล
แกะรอยเมืองแกลง
ปากน้ำประแส : เมืองท่า การประมง และการท่องเที่ยว
มิ่งขวัญรำไพพรรณี : กับวังสวนบ้านแก้วและเสื่อสมเด็จฯ
สำรับอาหารเมืองจันท์
ละครเท่งตุ๊กจันทบุรี : มหรสพพื้นบ้านกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์
คนชอง ชนเผ่าท้องถิ่นภาคตะวันออก
เมืองเก่าชลบุรี : พื้นที่ประวัติศาสตร์สำคัญภาคตะวันออก
สัตหีบ เมืองแห่งฐานทัพเรือไทย
บางละมุง ชลบุรี : คุณค่าของเมืองเก่ากับท่าเรือน้ำลึก
จุดเริ่มต้นการพัฒนาภาคตะวันออก
เราคือรากของแผ่นดิน
วังหน้ากับนาฏกรรมคลาสสิก ในกรุงรัตนโกสินทร์ยุคเริ่มแรก
วังหน้ากับนาฏกรรมยุคสยามใหม่
วังหน้ากับรากฐานการศึกษาทางนาฏกรรม
วังบางขุนพรหมกับบิดาแห่งดนตรีไทยสากล
วังบ้านดอกไม้
วังลดาวัลย์ นาฏกรรมการดนตรีสู่วิถีภาพยนตร์
ลุ่มทะเลสาบสงขลา ภูมิวัฒนธรรมการสร้างบ้านแปงเมือง