“คุก” สถานที่สำหรับคุมขังผู้ที่กระทำผิดกฎของสังคม ที่อยู่คู่กับประวัติศาสตร์ของโลกมายาวนานและในประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน
ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมี “คุกหลวง” ตั้งอยู่ที่หน้าวัดโพธิ์ บริเวณที่หน่วยบัญชาการรักษาดินแดนในปัจจุบัน ด้านในคุกมีลักษณะเหมือนการจำลองนรกตามคติความเชื่อแบบไตรภูมิ มีการทรมาน เฆี่ยนตี และใช้แรงงานนักโทษ
จนกระทั่งปี 2413 รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสต่างประเทศ และได้ทรงไปดูงานคุกแบบสมัยใหม่ที่ประเทศสิงคโปร์ ซึ่งต่อมาก็ได้นำเอาความรู้มาสร้าง “คุกสมัยใหม่” แห่งแรกของสยาม ที่บริเวณตรอกคำ ถนนมหาไชย ชื่อว่า “คุกกองมหันตโทษ” และสร้างคุกอีกแห่งหนึ่งในภายหลังเรียกว่า “คุกกองลหุโทษ” บริเวณสนามหลวง
เมื่อเมืองขยายตัวและเกิดปัญหาความแออัดภายในคุก จึงได้มีการสร้างคุกเพิ่มในภายหลังคือ “เรือนจำบางขวาง” และ “เรือนจำกลางคลองเปรม” ตามลำดับ
ติดตามชมได้ในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ประวัติศาสตร์คุก วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
บางขุนนนท์ คลองชักพระและถนนก๋วยเตี๋ยว
ราชดำเนิน : สนามมวย ไก่ย่างส้มตำ และคนอีสาน
"การประปา" เมกะโปรเจกต์แห่งสยาม
จากโรงเรียนวัดถึงโฮมสคูล : การศึกษาไทย ไปทางไหนดี
เส้นทางการแพทย์ : ชะตากรรม ความเจ็บป่วย และการต่อสู้โรคระบาด
ศาสตร์ยาแห่งสยาม : หมอยาไทย และแพทย์ทางเลือก
ชีวิตติดห้าง : วิวัฒนาการค้าปลีกจากชนชั้นสูงสู่รากหญ้า
บ้านมั่นคง ชีวิตคนบนวิถีคลอง
ชุมชนสามเสนริมเจ้าพระยา : คนเขมร คนญวน และชาวเรือ(ที่หายไป)
สลัม วัฒนธรรมคนจนเมือง
สามสมเด็จเจ้าพระยา : ความเป็นมา และบทบาทขุนนางไทย
ย่านตลาดน้อย : จากย่านจีนเก่าสู่แหล่งท่องเที่ยวใหม่
100 ปี สวนลุมพินี : พื้นที่ของความทรงจำกับการพัฒนาเมือง
วัดดอนยานนาวา บ้านทวาย ผู้คน และร่องรอยที่เปลี่ยนผ่าน
ลิตเติลเมียนมา : แรงงาน ตลาด และประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์
กุ๊กช็อป : เสน่ห์ของอาหารที่ผ่านเวลา
รัตนโกสินทร์ : นครแห่งแก้วองค์อินทร์ สู่เมืองแห่งผู้คนหลากหลาย #1
รัตนโกสินทร์ : นครแห่งแก้วองค์อินทร์ สู่เมืองแห่งผู้คนหลากหลาย #2
การเดินทางของกาแฟ
วัฒนธรรมชา จากจีนสู่ไทยและชานมไข่มุก
วัฒนธรรมเครื่องกระดาษ จีน ญวน และกงเต็กหลวง
ประวัติศาสตร์คุก
หวยและสลากกินแบ่ง : เส้นทางการเสี่ยงโชคจากต่างชาติ สู่ความหวังของคนไทย
ชุมชนมัสยิดฮารูณ คนมุสลิม และร่องรอยชุมชนนานาชาติ
ประวัติศาสตร์ข้าวแกง จากชนชั้นกลาง สู่อาหารสามัญประจำเมือง
ญี่ปุ่น - ไทย แสนยานุภาพทางความสัมพันธ์
โรงเรียนหมอสอนศาสนา จากศาสนจักร สู่การศึกษา
ประวัติศาสตร์พลานามัย จากสถานกายบริหาร สู่ยิมและฟิตเนส
ไทย - เกาหลี : ก่อนยุคการส่งออกวัฒนธรรม
14 ตุลา : ถนน คนหนุ่มสาว และการเปลี่ยนผ่าน
จากรากสู่เรา
บางขุนนนท์ คลองชักพระและถนนก๋วยเตี๋ยว
ราชดำเนิน : สนามมวย ไก่ย่างส้มตำ และคนอีสาน
"การประปา" เมกะโปรเจกต์แห่งสยาม
จากโรงเรียนวัดถึงโฮมสคูล : การศึกษาไทย ไปทางไหนดี
เส้นทางการแพทย์ : ชะตากรรม ความเจ็บป่วย และการต่อสู้โรคระบาด
ศาสตร์ยาแห่งสยาม : หมอยาไทย และแพทย์ทางเลือก
ชีวิตติดห้าง : วิวัฒนาการค้าปลีกจากชนชั้นสูงสู่รากหญ้า
บ้านมั่นคง ชีวิตคนบนวิถีคลอง
ชุมชนสามเสนริมเจ้าพระยา : คนเขมร คนญวน และชาวเรือ(ที่หายไป)
สลัม วัฒนธรรมคนจนเมือง
สามสมเด็จเจ้าพระยา : ความเป็นมา และบทบาทขุนนางไทย
ย่านตลาดน้อย : จากย่านจีนเก่าสู่แหล่งท่องเที่ยวใหม่
100 ปี สวนลุมพินี : พื้นที่ของความทรงจำกับการพัฒนาเมือง
วัดดอนยานนาวา บ้านทวาย ผู้คน และร่องรอยที่เปลี่ยนผ่าน
ลิตเติลเมียนมา : แรงงาน ตลาด และประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์
กุ๊กช็อป : เสน่ห์ของอาหารที่ผ่านเวลา
รัตนโกสินทร์ : นครแห่งแก้วองค์อินทร์ สู่เมืองแห่งผู้คนหลากหลาย #1
รัตนโกสินทร์ : นครแห่งแก้วองค์อินทร์ สู่เมืองแห่งผู้คนหลากหลาย #2
การเดินทางของกาแฟ
วัฒนธรรมชา จากจีนสู่ไทยและชานมไข่มุก
วัฒนธรรมเครื่องกระดาษ จีน ญวน และกงเต็กหลวง
ประวัติศาสตร์คุก
หวยและสลากกินแบ่ง : เส้นทางการเสี่ยงโชคจากต่างชาติ สู่ความหวังของคนไทย
ชุมชนมัสยิดฮารูณ คนมุสลิม และร่องรอยชุมชนนานาชาติ
ประวัติศาสตร์ข้าวแกง จากชนชั้นกลาง สู่อาหารสามัญประจำเมือง
ญี่ปุ่น - ไทย แสนยานุภาพทางความสัมพันธ์
โรงเรียนหมอสอนศาสนา จากศาสนจักร สู่การศึกษา
ประวัติศาสตร์พลานามัย จากสถานกายบริหาร สู่ยิมและฟิตเนส
ไทย - เกาหลี : ก่อนยุคการส่งออกวัฒนธรรม
14 ตุลา : ถนน คนหนุ่มสาว และการเปลี่ยนผ่าน