เหมืองแร่ทองคำเหมืองเลย เริ่มดำเนินกิจการเมื่อปี 49 ซึ่งระหว่างนั้น ชาวบ้าน 6 หมู่บ้าน ใน ต.เขาหลวง อ.วังสะพุง จ.เลย รวมตัวกันในนามกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิด เพื่อเคลื่อนไหวเรียกร้องปกป้องสิทธิ หลังพบว่ากิจการเหมืองส่งผลกระทบต่อวิถีชุมชนและสิ่งแวดล้อม ต่อมาปี 57 เหมืองแร่หยุดประกอบกิจการ และในปี 61 ศาลจังหวัดเลย มีคำสั่งให้บริษัททุ่งคำ จำกัด ล้มละลาย และพิพากษาให้บริษัทต้องชดใช้ค่าเสียหาย ดำเนินการเยียวยา แก้ไข ฟื้นฟูความเสียหายต่อคนและชุมชนพื้นปที่
เมื่อวันที่ 16 - 18 ก.พ. ผ่านมา โครงการเสริมสร้างความร่วมมือการฟื้นฟูประเทศไทย หรือ RCCT จัดกิจกรรม "ทัวร์ฟื้นฟูสังคม ระบบนิเวศ และสุขภาพ พื้นที่เหมืองทองคำจังหวัดเลย" โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากสาขาความรู้ที่หลากหลาย ทั้ง ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ การฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ สุขภาพ และสื่อมวลชน เป็นการลงพื้นที่เพื่อให้เห็นสภาพจริงหลังมีการปิดเหมืองและทยอยรื้อถอนโรงงานเรื่อยมา พร้อมรับฟังปัญหาและร่วมแสวงหาความร่วมมือในการทำงานให้เกิดการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนดังกล่าว โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตร ที่ดิน แหล่งน้ำ ซึ่งยังต้องมีการตรวจสอบการปนเปื้อนสารพิษ และเร่งฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม วิถีชุมชน และคุณภาพชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อคุ้มครองสุขภาพของชาวบ้านในพื้นที่โดยเร็ว
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม