พื้นที่สาธารณะที่เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำในบ้านเรามีอยู่หลายแห่ง ซึ่งมีการใช้ประโยชน์หลายอย่าง ทั้งเชิงการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ การท่องเที่ยว หลายที่ก็ถูกพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปเยอะ อย่างที่นี่ เวียงหนองหล่ม จ.เชียงราย ด้วยเป็นพื้นที่สาธารณะจึงมีการใช้พื้นที่อย่างหลากหลายรวมถึงการเข้ามาของโครงการพัฒนาของรัฐ
นักข่าวพลเมือง เติ้ล ชาญนรงค์ วรรณสอน ลงพื้นที่รายงานภาพความแห้งแล้งที่กำลังส่งผลกระทบต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงควายที่เวียงหนองหล่ม ด้านสื่อสาธารณะท้องถิ่น เชียงรายสนทนา ลงพื้นที่ ต.จันจว้า อ.แม่จัน จ.เชียงราย สภาเกษตรกรประสานงานกรมปศุสัตว์ รับฟังปัญหาเกษตรกรในพื้นที่ ร่วมหาทางออกในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนหญ้าสำหรับเลี้ยงควาย โดยมีการจัดประชุมเพื่อหารือและหาแนวทางแก้ไขที่เหมาะสมในระยะยาว
เมื่อสภาพพื้นที่ไม่สามารถกลับคืนแบบเดิม คนในพื้นที่พยายามปรับตัว เกิดกระบวนการการมีส่วนร่วมเพื่อจัดการ ปกป้องทรัพยากรในพื้นที่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงร่วมกับชุมชนป่าสักหลวง หนึ่งในพื้นที่เวียงหนองหล่ม พลิกฟื้นทุนวัฒนธรรม เพื่อให้คนในพื้นที่เตรียมการรองรับความเปลี่ยนแปลง นำเอาภูมิปัญญามาสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในพื้นที่เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากฐานวัฒนธรรม เพิ่มโอกาสในด้านอาชีพและสร้างรายได้ ยกระดับรายได้ของผู้ประกอบการทางวัฒนธรรม ต่อยอดให้เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต ขยายเรื่องนี้กับ คุณ พนิดา ฐปนางกูร ที่ปรึกษาโครงการบริหารชุดโครงการจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนและสำนึกท้องถิ่น และคุณ สายกลาง จินดาสุ นักโบราณคดีปฎิบัติการ สำนักศิลปากร ที่ 8 เชียงใหม่
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม