ชวนติดตามสภาพอากาศในช่วงฤดูฝน กับการเตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและระยะเผชิญเหตุ ซึ่งเครือข่ายสื่อพลเมืองร่วมจับตาสถานการณ์นี้ และมองว่าชุมชนและท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วม และอาจจะต้องมีวิธีการจัดการในแบบของตนเอง
เริ่มที่สถานการณ์ในภาคอีสาน ที่บ้านโนนเมืองและบ้านสองคอน อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม ซึ่งวันพุธที่ 17 สิงหาคม 2565 นักข่าวพลเมือง คุณสันติ ศรีมันตะ ปักหมุดรายงานมากับ C-site ให้เห็นสถานการณ์น้ำหลากท่วมทุ่งนาของเกษตรกรในพื้นที่ และอีกพิกัดจุดนี้ที่ลุ่มน้ำมูลปลายน้ำภาคอีสาน จ.อุบลราชธานี คุณศิริโชค ประเสริฐสันเทียะ นักข่าวพลเมืองสาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รายงานว่าอาสาสมัครชาวบ้านในพื้นที่สำรวจและเฝ้าระวังระดับน้ำ ที่บริเวณชุมชนท่าบ้งมั่ง อ.วารินชำราบ เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ
รวมถึงติดตามผลกระทบจากอิทธิพลพายุดิเปรสชัน “มู่หลาน” ที่ทำให้ในพื้นที่ 8 อำเภอ 26 ตำบล 185 หมู่บ้าน ที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ถูกน้ำท่วมรุนแรงและเสียหายอย่างหนัก พร้อมชวนติดตามผลกระทบอีกพิกัดกับนักข่าวพลเมือง อ.เวียงสา จ.น่าน กับคุณชัยวัฒน์ ธรรมะชัย ถึงผลกระทบจากฝนตกหนัก พร้อมบทเรียนจากปี 2563 ที่ทำให้คนในชุมชนผนวกกับท้องถิ่นตั้งรับวางแผนรับมือสถานการณ์น้ำที่อาจจะเกิดขึ้น
พร้อมด้วยการขยายประเด็น ข้อเสนอวิชาการเพื่อรู้ อยู่ร่วมเพื่อรับมือภัยพิบัติกับ ผศ. ดร.มงคลกร ศรีวิชัย ซึ่งมีข้อเสนอเรื่อง War Room online ของการจัดการข้อมูลและการคาดการณ์ล่วงหน้า เพื่อการเตือนภัย และคุณวรการณ์ สุวรรณไตรย์ สมาชิกกลุ่มไลน์ เตือนภัยพิบัติอุบลราชธานี กับการเตรียมความพร้อมทั้งเรื่องของมูลข่าวสารและปฏิบัติการของภาคประชาชน
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ กับความหวังคนเท่ากัน
กฎหมายเปิดข้อมูลมลพิษ PRTR เครื่องมือปกป้องชุมชน
โจทย์เก่าเล่าใหม่ เหมืองแร่โปแตชอุดรธานี
ก้าวต่อไป ในวันที่ไร้(เหมือง)หิน
ฟื้นชีวิตคลองแม่ข่า
9 ปีน้ำมันรั่ว บทเรียนฟื้นฟูกู้พลังคนรักบ้านเกิด
3 ทศวรรษ เสียงจากคนลุ่มน้ำอีสาน
จากสงขลา สู่ #SaveSigora กับการดูแลพื้นที่ประวัติศาสตร์
รู้ อยู่ร่วม รับมือภัยพิบัติ
เรียนรู้ เพื่ออยู่ร่วมกัน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
"ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน" ความท้าทาย เมื่อชุมชนขอมีส่วนร่วม
ก้าวต่อไปของการแก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดิน
อีกครั้ง (บ้าน) ที่ต้องโยกย้าย
เปิดประตูเรียนรู้ชุมชน
พัทลุงโมเดล แก้ปัญหาปากท้อง
ที่ดิน หนี้สิน และทางรอดของชาวนา
เปิดพื้นที่ให้เติบโต เติมโอกาสคนรุ่นใหม่
การงานผู้สูงวัย(ต้อง)ไปต่อ
ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อเด็กอยู่รอดในระบบการศึกษา
ชุมชนและการจัดการแม่น้ำ
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำ
เสริมพลังชุมชน คนสู้น้ำ
โอกาสของพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรโลก
นักสืบชาวบ้าน นักสืบธรรมชาติ
"ไร้บ้าน" ไม่ "ไร้หวัง"
คุณเล่า เราขยาย
สิทธิแม่น้ำ ณ ลำน้ำโขง
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
หาดใหญ่(ยัง)มีชีวิต
พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ กับความหวังคนเท่ากัน
กฎหมายเปิดข้อมูลมลพิษ PRTR เครื่องมือปกป้องชุมชน
โจทย์เก่าเล่าใหม่ เหมืองแร่โปแตชอุดรธานี
ก้าวต่อไป ในวันที่ไร้(เหมือง)หิน
ฟื้นชีวิตคลองแม่ข่า
9 ปีน้ำมันรั่ว บทเรียนฟื้นฟูกู้พลังคนรักบ้านเกิด
3 ทศวรรษ เสียงจากคนลุ่มน้ำอีสาน
จากสงขลา สู่ #SaveSigora กับการดูแลพื้นที่ประวัติศาสตร์
รู้ อยู่ร่วม รับมือภัยพิบัติ
เรียนรู้ เพื่ออยู่ร่วมกัน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
เตรียมพร้อม ? รับมือน้ำท่วมอีสาน
"ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน" ความท้าทาย เมื่อชุมชนขอมีส่วนร่วม
ก้าวต่อไปของการแก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดิน
อีกครั้ง (บ้าน) ที่ต้องโยกย้าย
เปิดประตูเรียนรู้ชุมชน
พัทลุงโมเดล แก้ปัญหาปากท้อง
ที่ดิน หนี้สิน และทางรอดของชาวนา
เปิดพื้นที่ให้เติบโต เติมโอกาสคนรุ่นใหม่
การงานผู้สูงวัย(ต้อง)ไปต่อ
ออกแบบการเรียนรู้ เพื่อเด็กอยู่รอดในระบบการศึกษา
ชุมชนและการจัดการแม่น้ำ
ข้อมูล X ประชาชน จับตาสถานการณ์น้ำ
เสริมพลังชุมชน คนสู้น้ำ
โอกาสของพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยต่อมรดกทางการเกษตรโลก
นักสืบชาวบ้าน นักสืบธรรมชาติ
"ไร้บ้าน" ไม่ "ไร้หวัง"