ปัญหา "ค่าไฟแพง" ทำให้พลังงานทางเลือก พลังงานหมุนเวียน ถูกนำมาพูดถึงอีกครั้ง ท่ามกลางกระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อการเปลี่ยนผ่านพลังงานสู่อนาคต แต่ทางเลือกที่ไม่มีส่วนร่วม อาจสร้างปัญหาสำหรับผู้คนในพื้นที่พัฒนาโครงการพลังงาน ไม่ว่าขนาดใหญ่ หรือเล็ก ทั้งกังหันลม โซลาร์ฟาร์ม พลังงานชีวมวล ที่ลงทุนโดยเอกชนอาจไม่ใช่คำตอบสุดท้าย
แล้วอะไรจะทำให้เราจ่ายค่าไฟน้อยลง ได้รับความเป็นธรรมทางพลังงานมากขึ้น รวมทั้งมีการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เดินไปข้างหน้าพร้อมกัน เราจะมาพูดคุยกับคุณวิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ ผู้อำนวยการเครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาลุ่มน้ำโขง (MEENet) และนักวิเคราะห์ด้านพลังงาน
ส่วน Csite ชวนติดตามความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ใกล้ตัว กับนักข่าวพลเมืองจากทุกภูมิภาค ทั้งการเคลื่อนไหวของชาวบ้านเพนียดรักษ์ถิ่น ที่ตั้งคำถามกับโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้ากังหันลม ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาเพนียด (เขาตะเภา) อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี และไปดูข้อมูลรายละเอียดของตัวโครงการที่ใช้พื้นที่ราว 1,000 ไร่ ในการผลิตไฟฟ้า 90 - 180 เมกกะวัตต์
ชวนออกเรือไปกับบังหมีด ชาวประมงพื้นบ้านชุมชนหัวเขา จ.สงขลา เพื่อไปยกไซปลาขี้ตัง หรือปลาตะกรับ ปลาสามน้ำที่สร้างรายได้ให้คนในพื้นที่ ขณะที่ในภาคอีสาน น้ำที่ท่วมในหลายพิกัดยังไม่แห้ง ความช่วยเหลือจึงยังมีอยู่ ทั้งที่ จ.กาฬสินธุ์ และ จ.ศรีสะเกษ
และส่งท้ายเดือนที่อยู่อาศัยโลก ด้วยความคืบหน้าการแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยของคนจนเมือง กับชาวชุมชนเย็นอากาศ 2 ในเขตยานนาวา กรุงเทพฯ ที่มีการมอบสัญญาเช่าที่ดินและทำพิธียกเสาเอกบ้านมั่นคง จากนั้นพาไปชมบรรยากาศการเปิด "ศูนย์สุขภาวะชุมชน" ของชุมชนเมืองใหม่มาลัยทอง เพื่อสร้างกลไกจัดการสุขภาวะชุมชน ต่อเนื่องจากช่วงวิกฤตโควิด-19
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน