ในยุคที่ใคร ๆ ก็สื่อสารได้ เพียงแค่มีโทรศัพท์มือถือเครื่องเดียว สู่กระแสการเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ ที่ตื่นตัวเรื่องสิทธิเสรีภาพของตัวเองมากขึ้น การสื่อสารจากภาคพลเมืองจึงขยายตัวมากขึ้นเรื่อย ๆ และกลายเป็นส่วนสำคัญในการสะท้อนปัญหาและสร้างความรับรู้ข้ามพื้นที่
จากในอดีตที่สื่อมุ่งความสนใจเกือบทั้งหมดมาที่กรุงเทพฯ ถึงวันนี้การรับฟังเสียงสะท้อนจากภูมิภาคต่าง ๆ มีมากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยีพาสังคมก้าวสู่ความท้าทาย ทั้งต่อคนที่อยู่ในวิชาชีพสื่อ องค์กรสื่อ คนทำสื่อ ไปถึงคนรับสื่อ ในภูมิทัศน์สื่อที่เปลี่ยนแปลง เราจะไปต่อกันอย่างไร ชวนคุยเรื่องนี้กับคุณรุ่งโรจน์ เปรมจิราพงศ์ นักข่าวพลเมือง ที่พัฒนาผลงานสู่การเป็นผู้ผลิตในรายการ Backpack Journalist และคุณสันติชัย อาภรณ์ศรี ผู้ร่วมก่อตั้ง Rocket Media Lab คนข่าวมืออาชีพ ที่หันมาจับงานสื่อสารด้วยข้อมูล
ส่วนจับตาสถานการณ์กับ C-Site ติดตามนักข่าวพลเมือง จังหวัดลพบุรี อัปเดตความเคลื่อนไหวของชาวบ้านเพนียด ที่ค้านโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม จ.ลพบุรี ตามด้วยการจับตาสถานการณ์ประชุม APEC ของภาคประชาชน โดยเฉพาะการผลักดันโมเดลเศรษฐกิจใหม่ "BCG" หรือ Bio-Circular-Green Economy เศรษฐกิจชีวภาพ - เศรษฐกิจหมุนเวียน - เศรษฐกิจสีเขียว
อีกความเคลื่อนไหว สื่อสารจากเครือข่ายสภาเกษตรกรในภาคอีสาน ที่ร่วมฟื้นฟูวิถีชุมชนหลังเผชิญน้ำท่วมมายาวนาน กับการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการจัดการอาหารโคเนื้อจากทรัพยากรในท้องถิ่น ที่ จ.ศรีสะเกษ ส่วนอีกพิกัดพาไปที่ ต.นอกเมือง อ.เมืองสุรินทร์ ไปดูมะพร้าวพันธุ์ใหม่ จากการทดลองผสมพันธุ์ระหว่างมะพร้าวน้ำหอมกับมะพร้าวน้ำหวาน หวังสร้างโอกาสให้ชาวสวนมะพร้าว
จากนั้น ชวนไปดูยุวชนอาสา ถอดบทเรียนคืนข้อมูลชุมชนริมรางรถไฟสถานีอู่ตะเภา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา แล้วพาขึ้นเหนือไปกาดกองน้อย ชุมชนหัวเวียงใต้ พื้นที่สร้างสรรค์เมืองน่านให้คนทุกวัย
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน