ในเดือนธันวาคมส่งท้ายปี ที่เพิ่งผ่านพ้นวันสิทธิมนุษยชนสากลกันไป อยากชวนมาทำความรู้จัก “สมบัด สมพอน” ชาวลาวผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนด้วยการบังคับให้สูญหายไปถึง 10 ปี ซึ่งวันนี้ยังไม่รู้ชะตากรรม กรณีการหายตัวไปของเขาอยู่ในความสนใจขององค์กรสิทธิระหว่างประเทศ และนักกิจกรรมรุ่นใหม่ที่ยังคงเรียกร้องหาความจริงจากกรณีที่เกิดขึ้น
สำหรับประเทศไทย มีตัวเลขผู้สูญหายที่ได้รับการบันทึกไว้โดยองค์กรภาคประชาสังคมและแอมเนสตี ข้อมูลนับตั้งแต่มิถุนายน 2534 - เมษายน 2557 คือ 74 กรณี รวมกว่า 101 ราย ตัวเลขนี้ไม่รวมผู้ลี้ภัยทางการเมืองไทยอย่างน้อย 9 ราย ที่สูญหายไปหลังการรัฐประหาร เมื่อช่วงเดือนพฤษภาคม 2557 และนี่เป็นแค่ตัวเลขบนยอดภูเขาน้ำแข็งที่มองเห็นได้เท่านั้น
ล่าสุด แม้ไทยจะมี พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 (ประกาศในราชกิจจา 25 ตุลาคม 2565 มีผลหลังจากนี้ 120 วัน) แต่นั่นไม่ใช่บทสรุปจบของปัญหา คุยเรื่องนี้ต่อกับคุณสุณัย ผาสุข ที่ปรึกษา Human Rights Watch ประจำประเทศไทย
ส่วนสถานการณ์ภาคพลเมือง C-site ยังคงติดตามความสูญเสียจากช้างป่า ภาคตะวันออก ซึ่งในปีนี้ 2565 ยอดผู้เสียชีวิตพุ่งสูงถึง 21 รายแล้ว ส่วนเครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ยื่นหนังสือคัดค้านแผนแม่บทแร่ ฉบับที่ 2 ขณะที่กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอุดรธานี อีกพื้นที่เป้าหมายโครงการเหมืองแร่โปแตชในภาคอีสานตอนบน จัดกิจกรรมเกี่ยวข้าวสู้เหมือง
นอกจากนี้ ที่ จ.อุบลราชธานี เครือข่ายภัยพิบัติชุมชน ลงพื้นที่อุบลราชธานี เรียนรู้รับมือน้ำท่วม สุดท้ายช่วงอวดดี Gen C reporter นิสิตสาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชวนไปติดตามการยอดดนตรีพื้นบ้านอีสานให้มีความร่วมสมัย
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน