หลาย ๆ บ้านที่มีลูกเล็ก อาจจะเจอปัญหาลูกไม่ยอมกินข้าว จนกลัวว่าลูกจะขาดสารอาหาร เลยต้องพยายามหาทางหลอกล่อทุกวิถีทาง เพื่อทำให้ลูกกินได้มากขึ้น หนึ่งในวิธีที่คุณพ่อคุณแม่หลาย ๆ คนเลือกใช้ คือการเปิดโทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ตดู แล้วค่อย ๆ ฉวยโอกาสทองป้อนข้าวใส่ปาก
แต่รู้ไหม? นี่อาจเป็นวิธีที่ส่งผลเสียต่อลูกในระยะยาว
ทีมงานเปิดบ้านไทยพีบีเอสได้พูดคุยเรื่องนี้กับ รศ.นพ.วีระศักดิ์ ชลไชยะ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยพัฒนาศักยภาพเด็กไทย และสาขาวิชาพัฒนาการและการเจริญเติบโต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงปัญหาเด็กดูจอในระหว่างรับประทานอาหาร
เด็กดูจอไป กินข้าวไป ส่งผลดี ผลเสียอย่างไร?
คุณหมออธิบายให้ฟังว่า การให้เด็ก ๆ ดูจอบนโต๊ะอาหาร แม้จะทำให้พวกเขายอมกินข้าวได้มากขึ้น แต่ถ้ามองอีกมุมหนึ่งอาจส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็ก ๆ ได้หลายประการ อย่างแรกคือ พฤติกรรมนี้เป็นการสร้างเงื่อนไขให้เด็ก ๆ รู้สึกว่า ถ้าเมื่อไรที่ไม่มีจอ ก็จะไม่ยอมกินข้าว
ประการที่สอง เด็กจะติดนิสัยไม่ช่วยเหลือดูแลตัวเอง จากการศึกษาเห็นได้ชัดว่าเด็กไทยมีแนวโน้มช่วยเหลือตัวเองลดลง เพราะหลายบ้านที่มาปรึกษาคุณหมอมักบอกว่า สาเหตุที่ต้องใช้จอเป็นตัวช่วย เพราะเด็กไม่ยอมกินข้าวเอง การให้เขาดูจอจะทำให้เขาอยู่นิ่ง และคุณพ่อคุณแม่ก็จะสามารถป้อนข้าวได้ ซึ่งจริง ๆ เด็กวัย 1 ขวบ ต้องเริ่มหยิบกินอาหารที่สามารถถือเองได้ง่าย เช่น ขนมปัง หรือ แครกเกอร์ เป็นต้น การให้เขาอยู่กับจอจึงเป็นการสร้างนิสัยให้เขาไม่รู้จักการช่วยเหลือตัวเอง
ปรับเปลี่ยนนิสัยลูกติดจอระหว่างรับประทานอาหารได้อย่างไร ?
สำหรับบ้านไหนที่อยากให้ลูก ๆ เลิกใช้จอระหว่างรับประทานอาหาร คุณหมอได้ฝากข้อแนะนำไว้ดังนี้
ลองนำคำแนะนำไปปรับใช้กันดู เพราะการส่งเสริมให้เด็ก ๆ รู้จักหน้าที่ของตัวเอง อดทน อดกลั้น จดจ่อ และสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ เป็นทักษะพื้นฐานที่จะทำให้เขาประสบความสำเร็จในอนาคต
เขียนโดย นิรชา ระย้าเพชร
ติดตามชมรายการรู้เท่าทันสื่อ ย้อนหลังได้ที่ www.thaipbs.or.th/MediaLiteracy
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์