Failed to load player resources
Please refresh the page to try again.
ERROR_BYTEARK_PLAYER_REACT_100001
ทันทีที่สังคมไทยรับรู้เหตุการณ์ “คนร้ายก่อเหตุชิงทรัพย์ร้านทองในห้างสรรพสินค้าจ.ลพบุรี” คืนวันที่ 9 มกราคม 2563 สิ่งที่ตามมาหลังจากเกิดเหตุการณ์นี้ คือ ภาพการสูญเสียถูกส่งต่อในโลกออนไลน์อย่างรวดเร็ว "ฝ่ายสถิติและพัฒนาระบบเครือเนชั่น" ได้ทำการรวบรวมสถิติการแชร์เนื้อหาเกี่ยวกับเหตุการณ์ดังกล่าวบนโซเชียลมีเดีย ตั้งแต่คืนวันที่ 9 มกราคมจนถึงช่วงเที่ยงของวันที่ 10 มกราคม 2563 พบว่า
“มีการโพสต์เนื้อหาข่าวนี้บนเฟซบุ๊กราว 976 รายการ มียอดแชร์มากกว่า 1,400,000 ครั้ง และมีการรีทวีต hashtag คำว่า #กราดยิงปล้นร้านทอง มากกว่า 600,000 ครั้งในทวิตเตอร์ ในขณะเดียวกัน เพจข่าวออนไลน์ต่าง ๆ ก็ได้นำเสนอเนื้อหา ภาพ และคลิปวิดีโอเหตุการณ์ ซึ่งมีผู้เข้ามากดไลก์ กดแชร์ จำนวนหลักพันไปจนถึงหลักแสนเลยทีเดียว”
เหตุการณ์นี้ทำให้กรมสุขภาพจิตและองค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน ออกมาขอความร่วมมือประชาชนและสื่อมวลชน ไม่ส่งต่อภาพความรุนแรง รวมถึงภาพผู้เสียชีวิต และผู้ได้รับบาดเจ็บ ซึ่งการขอความร่วมมือเช่นนี้ ไม่ได้เกิดขึ้นครั้งแรก แต่มักจะเกิดขึ้นซ้ำ ๆ ตั้งแต่เราทุกคนมีสื่ออยู่ในมือ “ทำไมเราถึงให้ความสนใจ และอยากแชร์ภาพความรุนแรงไปในโซเชียลมีเดีย ทั้ง ๆ ที่เหตุการณ์เหล่านั้นเป็นเรื่องน่าเศร้าและสะเทือนใจ” ชวนคุณผู้ชมมา “รู้เท่าทัน” เบื้องลึกในจิตใจของเรากัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
00:00
00:00