คุณจำพวกเขาเหล่านี้ได้ไหม? สมคิด เดอะริปเปอร์, ไอซ์ หีบเหล็ก, เปรี้ยว สวยสังหาร, ไอ้หื่น เดนมนุษย์, มาตุฆาตสยอง, ตี๋ใหญ่ จอมโจรอัจฉริยะ, บุญเพ็ง หีบเหล็ก และจ่าคลั่ง
เมื่อพูดถึงบุคคลเหล่านี้ สิ่งที่เราจำได้คงมีแต่เหตุการณ์ที่สะเทือนขวัญ ไม่ว่าจะเป็นคดีฆ่าข่มขืน, ฆ่าหั่นศพ ปล้น, ฆ่าอย่างโหดเหี้ยม ด้วยวิธีที่รุนแรงอย่างคาดไม่ถึง แม้เรื่องราวจะผ่านมานานแค่ไหน แต่ "ฉายา" ที่สื่อใช้เรียกพวกเขาก็ยังคงอยู่ และคนในสังคมก็ยังจำเหตุการณ์เหล่านั้นได้อย่างมิรู้ลืม "ฉายาอาชญากร" ไม่ได้พึ่งเกิดขึ้น แต่เกิดขึ้นมานานไม่ว่าในประเทศไทยหรือต่างประเทศก็ตาม และหลายครั้ง "ฉายา" ก็ถูกตั้งขึ้นโดยสื่อมวลชนเพื่อสร้างสีสันในการเล่าข่าว ทำให้เนื้อหาข่าวสั้น กระชับ ได้ใจความ และสร้างความโดดเด่นให้กับตัวอาชญากร จนเกิดคำถามจากสังคมว่า "ฉายา" กับ "อาชญากร" เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นหรือไม่ ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหนฉายาของอาชญากรที่เป็นคำสั้น ๆ เรียกกันจนติดหู ก็ยังทำให้เรานึกถึงเหตุการณ์สะเทือนใจได้เสมอ และภายใต้ฉายาเหล่านี้มีอะไรแฝงอยู่บ้าง ไปรู้เท่าทันสื่อกัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์