การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 สร้างความตื่นตัวในการรับข้อมูลข่าวสารของผู้คนเป็นอย่างมาก ปับลิซีส กรุ๊ป บริษัทด้านการตลาดดิจิทัล สำรวจพบว่า ข่าวสารเรื่อง COVID-19 ทำให้พฤติกรรมการรับสื่อของคนไทยเปลี่ยนไป โดยคนไทยมีแนวโน้มติดตามข่าวสารผ่านสื่อออนไลน์เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 57 และจะคอยอัปเดตข่าวสารผ่านเพจเฟซบุ๊ก หรือ ทวิตเตอร์ของสำนักข่าวต่าง ๆ เพราะถือว่าเป็นแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ แต่อย่างไรก็ตาม การรีบเร่งนำเสนอข่าวของสื่อมวลชน ก็ถูกประชาชนวิพากษ์วิจารณ์เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการพาดหัวข่าวที่สร้างความเข้าใจผิด การสร้างกระแสดราม่า หรือการหยิบเอา Fake News มานำเสนอโดยไม่ได้ตรวจสอบข้อมูล การนำเสนอข้อมูลข่าวสารดังกล่าว จะส่งผลกระทบอย่างไรในยามที่สังคมอยู่ท่ามกลางวิกฤตโรคระบาด ไปรู้เท่าทันสื่อเรื่องนี้กัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์