ในช่วงที่ไวรัส COVID-19 แพร่ระบาด คุณเคยได้รับข้อความเหล่านี้บ้างหรือไม่ เช่น ข้อมูลที่บอกต่อ ๆ กันมาว่า การกลั้นหายใจเป็นเวลา 10 วินาที ช่วยเช็กอาการของ COVID-19 ได้, การกลั้วน้ำเกลือจะช่วยฆ่าเชื้อไวรัสในลำคอ หรือ การกินกระเทียมเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยฆ่าเชื้อ COVID-19 ได้ ข้อมูลเหล่านี้ถูกส่งต่ออย่างรวดเร็วผ่านโซเชียลมีเดีย จนทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องรีบดำเนินการตรวจสอบและออกมาชี้แจงว่า ทั้งหมดเป็น "ข่าวปลอม" ปัญหานี้ไม่ได้เกิดขึ้นในประเทศไทยเท่านั้น เพราะการเชื่อข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ COVID-19 ได้สร้างความสูญเสียมาแล้วในต่างประเทศ อย่างเช่น ประเทศอิหร่านและประเทศตุรกี ที่มีประชาชนหลงเชื่อคำแนะนำดื่มเอทานอลบริสุทธิ์ เพราะเชื่อว่าจะช่วยฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19 ได้ แต่สุดท้ายกลับลงเอยด้วยการถูกหามส่งโรงพยาบาลและมีคนเสียชีวิตนับร้อยคน ชวนคุณผู้ชมมารู้เท่าทันพฤติกรรมการรับและส่งต่อข้อมูลข่าวสารในช่วงภาวะวิกฤต ว่าทำไมเราถึงเชื่อและแชร์คำแนะนำต่าง ๆ นานาเกี่ยวกับการรักษาหรือป้องกันการติดเชื้อไวรัส COVID-19 ทั้ง ๆ ที่ข้อมูลเหล่านั้นยังไม่เคยผ่านการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเลย ไปรู้เท่าทันสื่อเรื่องนี้กัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์