หากจะกล่าวถึงสองเกาะตามแนวชายฝั่งอันดามันที่มีความละม้ายคล้ายคลึงกันจนเป็นดั่งบ้านพี่เมืองน้อง ชื่อของเกาะปีนังและเกาะภูเก็ตก็คงจะเป็นชื่อแรก ๆ ที่ถูกนึกถึง ไม่เพียงแต่ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่สามารถเทียบเคียงกันได้เท่านั้น ทว่า หากได้ลองมองลึกลงไปถึงความเป็นมาในอดีต ทั้งสองเมืองก็มีความผูกพันทางประวัติศาสตร์อยู่ในหลายยุคหลายสมัยทีเดียว ร่วมติดตามสายใยของทั้งสองเกาะจากต่างประเทศ
Along the Andaman coast, Malaysia’s Penang and Thailand’s Phuket are the two islands that often get compared. And it’s not only their geographical features that have given rise to their status as "sister cities". The two have been bound by common threads stretching back into the distant past over many historical eras. So join us on Spirit of Asia as we explore the interconnection between two islands of different countries.
ติดตามเรื่องราวได้ใน Spirit of Asia ตอน ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน วันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม 2566 เวลา 16.30 - 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live และสามารถเลือกรับชมด้วยเสียงภาคภาษาอังกฤษ คลิก Setting ไปที่ Audio Track เลือกเสียง ซาวด์แทร็ก
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
Spirit of Asia
มาตุภูมิแห่งขุนเขาและรกรากจากมารดา
เกียวโตพาสเทล วันซีดจางในยุคโควิด-19
เฝ้ารอการผลิดอกใหม่ ในคานาซาวะ
รากสยามในแดนมลายู
เกดะห์ พื้นที่ทับซ้อนแห่งชาติพันธุ์
จากซิงกอราถึงสงขลาบนคาบสมุทรสทิงพระ
พหุวิถี ณ สงขลา
180 ปี สงขลา ภาพจำที่ชัดเจน
เดียนเบียนฟู ลานชีวิตในงานเฉลิมฉลอง
มังกรขาว สะพานชีวิตของชาวหมกโจว
ฮานอยและจาการ์ตา ปลดล็อกดาวน์ทาวน์
ยามที่จาการ์ตาปริ่มน้ำ
สำรวจนูซันตารา เมืองหลวงแห่งใหม่อินโดนีเซีย
จากชนเผ่าสู่ชาวเมืองนูซันตารา สังคมอนาคตอินโดนีเซีย
ตามรอยลูกปัดร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
ลูกปัด ศรัทธา ศาสนา และเส้นทางการค้าโบราณ
ลูกปัดคู่วิญญาณ
ครบรอบ 1 ปี รถไฟความไวสูงลาว - จีน
สตาร์ตอัปลาวทำ ลาวใช้ ลาวเจริญ
อำนาจสกุลหยวนในกัมพูชา
สีหนุวิลล์ที่ชายขอบอ่าวไทย
“บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว
"บลูเซวาน" หัวใจสีฟ้าของชาวอาร์เมเนีย
บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย
พันธนาการขงจื้อในสังคมเกาหลีใต้
เสียงจากหญิงเกาหลีใต้ "ใครจะอยู่ข้างฉัน"
ฝึกอ่านเขียน เรียนปีนังครั้งเยาว์วัย
เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ ที่ปีนัง
ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน
มองลอดลายฉลุ บนชายเสื้อเคบาย่า
Spirit of Asia
มาตุภูมิแห่งขุนเขาและรกรากจากมารดา
เกียวโตพาสเทล วันซีดจางในยุคโควิด-19
เฝ้ารอการผลิดอกใหม่ ในคานาซาวะ
รากสยามในแดนมลายู
เกดะห์ พื้นที่ทับซ้อนแห่งชาติพันธุ์
จากซิงกอราถึงสงขลาบนคาบสมุทรสทิงพระ
พหุวิถี ณ สงขลา
180 ปี สงขลา ภาพจำที่ชัดเจน
เดียนเบียนฟู ลานชีวิตในงานเฉลิมฉลอง
มังกรขาว สะพานชีวิตของชาวหมกโจว
ฮานอยและจาการ์ตา ปลดล็อกดาวน์ทาวน์
ยามที่จาการ์ตาปริ่มน้ำ
สำรวจนูซันตารา เมืองหลวงแห่งใหม่อินโดนีเซีย
จากชนเผ่าสู่ชาวเมืองนูซันตารา สังคมอนาคตอินโดนีเซีย
ตามรอยลูกปัดร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
ลูกปัด ศรัทธา ศาสนา และเส้นทางการค้าโบราณ
ลูกปัดคู่วิญญาณ
ครบรอบ 1 ปี รถไฟความไวสูงลาว - จีน
สตาร์ตอัปลาวทำ ลาวใช้ ลาวเจริญ
อำนาจสกุลหยวนในกัมพูชา
สีหนุวิลล์ที่ชายขอบอ่าวไทย
“บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว
"บลูเซวาน" หัวใจสีฟ้าของชาวอาร์เมเนีย
บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย
พันธนาการขงจื้อในสังคมเกาหลีใต้
เสียงจากหญิงเกาหลีใต้ "ใครจะอยู่ข้างฉัน"
ฝึกอ่านเขียน เรียนปีนังครั้งเยาว์วัย
เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ ที่ปีนัง
ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน
มองลอดลายฉลุ บนชายเสื้อเคบาย่า