ในยุคสมัยที่ไร้กล้องถ่ายภาพบันทึกเอาไว้ มีเพียงการวาดรูปและศิลปกรรมปูนปั้นเท่านั้นที่ทำให้เรารู้หน้าค่าตาใครสักคนจริง ๆ หน้าตาของพระพุทธเจ้าก็เช่นกัน ยากที่จะมีผู้คนวาดบันทึกไว้ให้อยู่ยงพันกว่าปีมาจนถึงวันนี้ได้ ทว่าเมื่อรูปปั้นของพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก ผู้คนจึงมีรูปปั้นอันมีอายุยืนยาวกว่าชีวิตของมนุษย์เป็นที่จารึกในความทรงจำ และมีความเข้าใจหนึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันว่า นี่คือใบหน้าของพระพุทธเจ้า ผู้เป็นต้นกำเนิดของพุทธศาสนา และผู้ที่ให้กำเนิดการมองเห็นใบหน้าพระพุทธเจ้าเป็นครั้งแรกของโลกก็คือ พุทธคันธาระ เพราะอะไรรูปปั้นของพระพุทธเจ้าองค์แรกถึงได้เกิดขึ้นที่นี่ เราจะไปหาคำตอบพร้อม ๆ กัน
During a time when there was no photography, people had other ways and means of communicating “the physical aspects” of historical figures. Sculptors played an important role; and there could well have been elements of “imagination and emotion” incorporated into the resulting works of art. If the teachings of the Buddha contain messages of the path towards “what is real and permanent”, then are images of the Buddha based on “reality in correspondence” with those core teachings? And who first invented this look for these Buddhas? When the Buddha image appeared for the first time, the image itself was destined to “outlast the human lifespan”. There was a collective understanding that this was “the face of the Buddha”. Gandhara became the birthplace of the world’s first Buddha image. So, how and why…did the creation of the world’s first Buddha come about here in this land? Join us, as we go on a journey…”in search of answers”.
ติดตามเรื่องราวได้ใน Spirit of Asia ตอน พุทธคันธาระ ประติมากรรมแห่งศรัทธา วันอาทิตย์ที่ 24 ธันวาคม 2566 เวลา 16.30 - 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live และสามารถเลือกรับชมด้วยเสียงภาคภาษาอังกฤษ คลิก Setting ไปที่ Audio Track เลือกเสียง ซาวด์แทร็ก
Spirit of Asia
ศิลป์ไร้พรมแดนแว่นแคว้นเติร์ก
แมวทั้งผองคือพี่น้องเติร์ก
รอยราชวงศ์ถังยังทรงพลังในเฉิงตู
ชนเผ่าอี๋ ลูกหลานที่บูชาไฟแห่งแดนมังกร
สตรีโมซัว และวัฒนธรรมการจับคู่แบบไม่ต้องอยู่กิน
สการ์ดู ชีวิตในหุบเขาสูงเสียดฟ้า
พุทธคันธาระ ประติมากรรมแห่งศรัทธา
ถนนการค้ามุ่งสู่ลาฮอร์
ศาสตราแห่งศรัทธามลายู
ญิน ผีและไสยศาสตร์ โลกคู่ขนานในมลายู
ทรัพย์ล้ำค่าสองฝั่งคาบสมุทร
อำนาจละมุนในมือคนรุ่นใหม่
ไหหลำ รำลึก
ทำไมต้องเป็นไก่ไหหลำ
ไหหลำ ฮ่องกงใหม่ที่จีนอยากให้เป็น
ตำนานเก่าในโลกใหม่บอร์เนียว
บรรเลงเสียงบอร์เนียวที่โลกได้ยิน
โอรังซูไง ในวันที่สายน้ำไหลย้อนกลับ
อัญมณีแห่งขุนเขาที่เมียนมา
บทเรียนจากหมู่บ้านแห่งสุดท้าย
จุดบรรจบแห่งความหวังที่ปูตาโอ
จ้วง เครือญาติไทในกวางสี ยูนนาน
เศรษฐกิจสีเขียวในบ้านเกิดของชาวจ้วง
เทศกาลย่ากบของชาวจ้วง
ขุมทรัพย์ในเขตแห้งแล้งที่เยนันชอง
ใต้ร่มเงาพุทธศาสนาในเขตเงาฝน เมียนมา
แม่ชีสีชมพู สังคมหญิงในเมียนมา
นครสวรรค์รกรากหลากชาติพันธุ์
หงส์รามัญในนครแห่งสวรรค์
รวมเลือดเนื้อต่างชาติพันธุ์ให้เป็นไทย
Spirit of Asia
ศิลป์ไร้พรมแดนแว่นแคว้นเติร์ก
แมวทั้งผองคือพี่น้องเติร์ก
รอยราชวงศ์ถังยังทรงพลังในเฉิงตู
ชนเผ่าอี๋ ลูกหลานที่บูชาไฟแห่งแดนมังกร
สตรีโมซัว และวัฒนธรรมการจับคู่แบบไม่ต้องอยู่กิน
สการ์ดู ชีวิตในหุบเขาสูงเสียดฟ้า
พุทธคันธาระ ประติมากรรมแห่งศรัทธา
ถนนการค้ามุ่งสู่ลาฮอร์
ศาสตราแห่งศรัทธามลายู
ญิน ผีและไสยศาสตร์ โลกคู่ขนานในมลายู
ทรัพย์ล้ำค่าสองฝั่งคาบสมุทร
อำนาจละมุนในมือคนรุ่นใหม่
ไหหลำ รำลึก
ทำไมต้องเป็นไก่ไหหลำ
ไหหลำ ฮ่องกงใหม่ที่จีนอยากให้เป็น
ตำนานเก่าในโลกใหม่บอร์เนียว
บรรเลงเสียงบอร์เนียวที่โลกได้ยิน
โอรังซูไง ในวันที่สายน้ำไหลย้อนกลับ
อัญมณีแห่งขุนเขาที่เมียนมา
บทเรียนจากหมู่บ้านแห่งสุดท้าย
จุดบรรจบแห่งความหวังที่ปูตาโอ
จ้วง เครือญาติไทในกวางสี ยูนนาน
เศรษฐกิจสีเขียวในบ้านเกิดของชาวจ้วง
เทศกาลย่ากบของชาวจ้วง
ขุมทรัพย์ในเขตแห้งแล้งที่เยนันชอง
ใต้ร่มเงาพุทธศาสนาในเขตเงาฝน เมียนมา
แม่ชีสีชมพู สังคมหญิงในเมียนมา
นครสวรรค์รกรากหลากชาติพันธุ์
หงส์รามัญในนครแห่งสวรรค์
รวมเลือดเนื้อต่างชาติพันธุ์ให้เป็นไทย