ถามตอบข้อสงสัย (20 มี.ค. 63)อัปเดตแน้วโน้มสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และถามตอบไขข้อสงสัยกับผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน
ถามตอบข้อสงสัย (23 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคโควิด-19 ควรปฏิบัติตัวอย่างไร, เครื่องวัดอุณหภูมิที่ใช้งานตามอาคาร มีประสิทธิภาพจริงหรือไม่ และ การตัดสินใจทำประกันภัยโควิด ควรพิจารณาสิ่งใดก่อนตัดสินใจซื้อ
ถามตอบข้อสงสัย (24 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : กลุ่มเสี่ยงและพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เสี่ยงติดเชื้อโควิด-19, แนวทางปฏิบัติตัวเมื่อกลับเข้าบ้านให้ปลอดภัย และ การประกาศใช้พระราชกำหนดฉุกเฉินเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (25 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ส่งผลกระทบกับการใช้ชีวิตอย่างไร และ การฆ่าเชื้อโควิด-19 ด้วยสารต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
ถามตอบข้อสงสัย (26 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : มาตรการช่วยเหลือนายจ้าง ลูกจ้าง ผู้ประกันตน, วิธีลดความวิตกกังวล จากการรับฟังข่าวสาร และ การรักษาทางทันตกรรม ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (27 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : การตรวจหาเชื้อไวรัสโควิด-19, "ผู้สูงอายุ" กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อ และ มาตรการตั้งด่านจุดคัดกรองเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อ
ถามตอบข้อสงสัย (30 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : การรักษา และความเสี่ยงการติดเชื้อ และ การรับประทานยา สมุนไพร รวมถึงกระแสข่าวจริง ข่าวปลอมในช่วงสถานการณ์โควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (31 มี.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาลในต่างจังหวัด เพื่อรับมือสถานการณ์โควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (1 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ผู้สูงวัยจะป้องกันความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้อย่างไร, ข่าวปลอมในสถานการณ์โควิด-19 และ ความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 จากการสัมผัสวัตถุต่าง ๆ
ถามตอบข้อสงสัย (2 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ระยะห่างทางสังคม ทั้งในส่วนของ “บุคคล-องค์กร-ชุมชน” เพื่อลดการแพร่เชื้อโควิด-19 และ การดูแลสุขภาพและการรับมือโควิด-19 ด้วยแพทย์แผนไทย
ถามตอบข้อสงสัย (3 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ดูแลร่างกายอย่างไรให้ห่างไกลจากโควิด-19 และวิธีรับมือความวิตกกังวลจากสถานการณ์โควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (6 เม.ย. 63)อัปเดตแนวโน้มสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และร่วมถามตอบข้อสงสัยกับผู้เชี่ยวชาญ
ถามตอบข้อสงสัย (7 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : การปกปิดข้อมูลประวัติความเสี่ยงต่อบุคลากรทางการแพทย์, อุปกรณ์ใดบ้างที่ทางการแพทย์กำลังขาดแคลน และอุปกรณ์ป้องกันโควิด-19 ที่แชร์กันในโลกโซเชียล ป้องกันได้จริงหรือไม่
ถามตอบข้อสงสัย (8 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ควรดูแลเด็กอย่างไร เพื่อป้องกันการติดเชื้อโควิด-19, โอกาสในการติดเชื้อโควิด-19 ในชีวิตประจำวัน และ การดูแลผู้สูงอายุในช่วงสถานการณ์โควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (9 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : รักษาสภาพแวดล้อมอย่างไรให้ปลอดจากโควิด-19, สิ่งที่นักกีฬาไม่ควรชะล่าใจกับภัยโควิด-19 และ จริงหรือไม่ เมื่อติดเชื้อโควิด-19 แล้วจะสูญเสียการได้กลิ่น
ถามตอบข้อสงสัย (10 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ผู้ป่วยโควิด-19 ที่รักษาหายแล้ว จะมีโอกาสติดเชื้อซ้ำหรือไม่, อาการ "ภูมิแพ้ระบบทางเดินหายใจ" กับ "การติดเชื้อโควิด-19" แตกต่างกันอย่างไร, ดูแลระบบทางเดินหายใจอย่างไรให้ปลอดภัยจากโควิด-19 และ Work From Home อย่างไรไม่ให้กระทบสุขภาพจิต
ถามตอบข้อสงสัย (13 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ข้อควรปฏิบัติและคำแนะนำเพื่อการหยุดเชื้อโควิด-19 ในช่วงเทศกาลสงกรานต์, ผู้ป่วยโควิด-19 รักษาหายแล้ว มีโอกาสกลับมาติดเชื้อซ้ำได้หรือไม่ และ จริงหรือไม่ การฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อ ลดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้
ถามตอบข้อสงสัย (14 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ปัญหาการเงินของครอบครัวส่งผลกระทบเรื่องโควิด-19 ต่อเด็กและเยาวชนอย่างไร, ความเสี่ยงจากการปกปิดข้อมูล และการทำบุญในช่วงสงกรานต์เสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 มากแค่ไหน และ การคัดกรองเชิงรุก และความปลอดภัยของบุคลากรทางการแพทย์ และ อสม.
ถามตอบข้อสงสัย (15 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ผลทดสอบการติดเชื้อโควิด-19 ใน กทม. โดยรถเคลื่อนที่ BKK โควิด-19, วิธีปฏิบัติตัวเมื่อมีผู้ติดเชื้ออยู่ในอาคาร หรือสถานที่ใกล้เคียง และ โรคโควิด-19 ติดเชื้อบนเซลล์เม็ดเลือดขาวได้หรือไม่
ถามตอบข้อสงสัย (16 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : คำเตือนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตาช่วงอยู่บ้าน, หมอฟันไทยสู้ภัยโควิด แอปพลิเคชันรับปรึกษาโรคทางทันตกรรมจากที่บ้าน และ การใช้ยาลดไข้ให้ปลอดภัย ในช่วงโควิด-19 แพร่ระบาด
ไม่ว่าจะเด็กผี หรือเด็กหงส์ นอกจากเชียร์ทีมที่โปรดปรานแล้ว ก็ยังมีความในใจมากมายถึงทีมฟุตบอลโปรดขงตัวเอง อย่างกลุ่มศิลปินเหล่านี้ ที่จะมาเปิดหมดเปลือก ความในใจแฟนบอลแมนยูฯ-ลิเวอร์พูล
ชวนคุยประเด็นร้อน...หลัง "90 วันรัฐบาลแพทองธาร" พร้อมเดินหน้าต่อแค่ไหน ? รัฐธรรมนูญไม่ดีตรงไหน - แก้แล้วชาวบ้านได้อะไร ? แล้วขึ้นภาษี VAT 15% ยังคงไปต่อหรือไม่ ? "ทักษิณ-เศรษฐา" ร่วมนั่งรถไฟไปประชุมพรรคเพื่อไทยที่หัวหิน แล้ว "MOU 44 ไทย-กัมพูชา" หากจัดการไม่ดี อาจเป็นต้นเหตุความเปลี่ยนแปลง
เมื่อ "หม่อมแก้ว" รู้ว่า "พระองค์เจ้าสังข์" ป่วยอาการไม่ค่อยสู้ดีนัก จึงแอบให้ "ชุ่ม" ไปพบหมอฝาหรั่งเพื่อหายามารักษา ทำให้ พระองค์เจ้าสังข์ไม่พอใจ จึงตัดสินใจไปปรึกษาเรื่องนี้กับ พระองค์เจ้าวิลาสพร้อมทั้งฝากดูแล หม่อมงิ้ว และลูกในครรภ์หม่อมงิ้วด้วยความเป็นห่วง
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
พบกับประเด็น..."นนกุล" แชร์ทริคเมื่อผู้หญิงต้องการแค่คนรับฟัง..."ดาวใจ ไพจิตร" เตรียมมินิคอนเสิร์ต "เปิดใจดาว"
พบกับประเด็น...พิซซ่าหน้าปลาทูยกระดับวัตถุดิบท้องถิ่น จ.สมุทรสงคราม...ชาวหนองเขื่องเพิ่มมูลค่าอาหารพื้นบ้าน จ.ชัยภูมิ
Cyber Booster เปิดปฏิบัติการทลายแก๊งจีนเทา Hybrid Scam "รัก หลอก ลงทุน" จับกุมกลุ่มผู้ร่วมขบวนการแก๊งคอลเซนเตอร์ กว่า 20 ราย พบเป็นกลุ่มใหญ่ หลอกคนไทยและต่างชาติ คาดเกี่ยวข้อง 29 คดี รวมความเสียหายกว่า 63 ล้านบาท
"คุณขำ " กังวลใจมากที่จู่ ๆ "พระเจนอภิบาล" ส่งผู้ใหญ่มาสู่ขอ ในขณะที่ "นายคร้าม" ก็พยายามหาทางออกให้กับลูกสาวด้วยความสงสารจับใจเช่นกัน
"คุณขำ" ดี ใจมากที่ได้เจอ "คุณสุด" คอยดูแลอาการบาดเจ็บหลังจากโดนโจรบ่อนฝิ่นทำร้ายมาอย่างใกล้ชิด พระเจนอภิบาล พอเห็นทั้งคู่สนิทกันก็ไม่คอยพอใจ รวมถึง นายคร้าม ก็เริ่มสงสัยในความสัมพันธ์ของทั้งคู่เช่นกัน
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
"คุณขำ" เป็นไข้ด้วยพิษบาดแผลจากการปะทะกับนักเลงบ่อนฝิ่น และละเมอถึง "คุณสุด" ตลอด พระเจนอภิบาล พอรู้ว่าคุณขำถูกโจรทำร้ายจึงส่งหมอหลวง และตำรวจไปดูแลรักษาความปลอดภัย ส่วนคุณสุดก็เป็นห่วงคุณขำสุดหัวใจ พยายามขอร้อง คุณสุวรรณ ให้ช่วยเหลือ สร้างความลำบากใจให้กับคุณสุวรรณเป็นอย่างมาก
สูตรเด็ดเคล็ด(ไม่)ลับ กับเมนูเคยคั่วหอยไฟไหม้ดอง เมนูชวนข้าวหมดหม้อ อร่อยจนต้องขอเติม ติดตามได้ในรายการภัตตาคารบ้านทุ่ง ชมวิธีทำต่อได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/BanTung/episodes/104918
หม่อมแก้ว แอบมากรมพระตำรวจหลวงพบ พระสุริยภักดี กับ พระเจนอภิบาล เพื่อร้องเรียน เพราะต้องการหวังให้ตำหนักใหญ่ของ พระองค์เจ้าวิลาส เสียชื่อเสียง โดยใช้เหตุการณ์ของ อึ่ง ที่ทะเลาะกับ ชุ่ม ในตลาด แต่นั่นกลับทำให้ พระสุริยภักดี สงสัยในตัว หม่อมแก้ว จึงสั่งให้ พระเจนอภิบาล ตามสืบประวัติ หม่อมแก้ว เป็นการด่วน
"พระองค์เจ้าวิลาส" เสด็จไปร่วมงานพระศพฯ "หม่อมขำ" ซึ่งทำหน้าที่ดูแลเครื่องเสวยก็ได้จัดเตรียมพระกระยาหารด้วยความกังวลเพราะกลัวจะไม่ถูกพระโอษฐ์พระองค์เจ้าวิลาส พอ "หม่อมสุด" เห็นก็เป็นห่วง จึงพยายามปลอบและให้กำลังใจ
ระหว่างที่ "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" กำลังเตรียมอาหารอยู่ในครัวตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่จาก พระองค์เจ้าดาราวดี ให้ดูแลเครื่องเสวยถวายเจ้านายในงานพระศพ หม่อมขำ ได้ทำการลองชิมให้ได้รสที่ถูกใจก่อนถวาย พอ "หม่อมแก้ว" เห็นก็ไม่พอใจที่ หม่อมขำ ตักอาหารกินก่อนเจ้านาย พยายามเอาเรื่องให้ถึงที่สุด
เมื่อ คุณขำ ตัดสินใจกลับไปอยู่กับ นายคร้าม ผู้เป็นพ่อที่สวนนอกอัมพวา คุณสุด ก็เอาแต่คิดถึงคุณขำ จนแต่งกลอนไม่ได้ ส่วน พระเจนอภิบาล ก็สั่งให้ ประจง คอยสืบดูความเคลื่อนไหวของคุณขำด้วยความเป็นห่วง แต่กลับเจอเรื่องโจรบ่อนฝิ่นอาละวาดทำชาวบ้านเดือดร้อนจนต้องหาทางจัดการโดยด่วน
พระองค์เจ้าวิลาส ทรงเมตตา หม่อมขำ กับ หม่อมสุด จึงรับทั้งคู่เข้ามาเป็นคนครัวของตำหนักใหญ่ จนทำให้ อึ่ง ตัวตึงของห้องเครื่องไม่พอใจร้องขอความเมตตากับ พระองค์เจ้าวิลาส เป็นการใหญ่
หลังจาก "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" ได้เข้าเฝ้า "พระองค์เจ้าวิลาส" ก็ยิ่งทำให้หม่อมขำถึงกับนอนไม่หลับ เพราะคิดถึงตอนที่พระองค์เจ้าวิลาสได้ฟังเสียง หม่อมสุดท่องกลอนด้วยความเมตตา จนกลัวพระองค์เจ้าวิลาสจะทรงรับหม่อมสุดไปอยู่ที่ตำหนักใหญ่เพียงคนเดียว หม่อมสุดจึงคอยปลอบใจอย่างใกล้ชิด
มีข้อมูลที่ระบุว่าหนี้ครัวเรือนของประเทศไทยสูงกว่า 80% ของ GDP มาอย่างต่อเนื่อง แน่นอนว่าเป็นสัญญาณอันตรายที่จะส่งผลกระทบต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เราจะแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างไร
เมื่อ "หม่อมแก้ว" รู้ว่า "พระองค์เจ้าสังข์" ป่วยอาการไม่ค่อยสู้ดีนัก จึงแอบให้ "ชุ่ม" ไปพบหมอฝาหรั่งเพื่อหายามารักษา ทำให้ พระองค์เจ้าสังข์ไม่พอใจ จึงตัดสินใจไปปรึกษาเรื่องนี้กับ พระองค์เจ้าวิลาสพร้อมทั้งฝากดูแล หม่อมงิ้ว และลูกในครรภ์หม่อมงิ้วด้วยความเป็นห่วง
เบื้องหลังการผลิตละครหม่อมเป็ดสวรรค์นั้นมีความน่าสนใจในหลากหลายแง่มุม ทั้งวิธีคิดในการหยิบยกเอาเรื่องราวความหลากหลายทางเพศที่เกิดขึ้นจริงในยุคสมัยของรัชกาลที่ 3 ซึ่งไม่เพียงสะท้อนถึงเรื่องราวที่มีต้นกำเนิดจาก บทประพันธ์เพลงยาวหม่อมเป็ดสวรรค์เท่านั้นยังครอบคลุมถึงวิธีคิดในการสืบค้นข้อมูลจำนวนมากของเหล่าทีมงานเบื้องหลัง
พบกับสองพี่น้องเซียนกลอยแห่งบ้านหนองกลับ และปังปิ้งอาม่าแห่งตลาดหัวรอ ต่อกันด้วยสำรับตำรับยายกับเมนู "ขนมดาวล้อมเดือน" ขนมที่ปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นมากนัก
เรื่องราวของโรงบะหมี่เบตง โรงบะหมี่ต่างวัย และครอบครัวทำรากบัวเชื่อม 3 รุ่น จากรุ่นยายสู่รุ่นหลาน ต่อกันด้วยสำรับตำรับยายกับเมนู "เนื้อเค็มต้มกะทิ" อาหารไทยโบราณที่หากินยากในปัจจุบัน
ท่ามกลางสภาพเศรษฐกิจที่ซบเซา "ร้านกะเพราลุงทู" ยังคงประคองราคาสู้เพื่อให้ลูกค้ารายได้น้อยในกรุงเทพ ยังสามารถกินอิ่มในราคา10 บาท ณ "ชุมชนบ้านสวนสมเด็จย่า" ตรอกเล็ก ๆ ย่านคลองสาน
ก่อนที่เราจะได้ปลากะพงเกรดซาชิมิ เราจะต้องมีวิธีการเตรียมบ่อเพื่อที่จะให้ปลากะพงของเราออกมาเกรดดี โดยวันนี้พี่เคจะมาสอนวิธีการเตรียมบ่อในการเลี้ยง วิธีนี้พี่เคทำเป็นประจำและได้ผลดีอีกด้วย
"พี่เค" ผู้มีความชื่นชอบปลากะพงมาตั้งแต่เล็ก ไม่เคยย่อท้อ และไม่เคยยอมแพ้ต่อทุกปัญหา ต่อให้ใครจะมองว่าเขาบ้าก็ตาม เขามุ่งมั่น พัฒนา ศึกษาเรื่องราวของปลากะพงทั่วทุกสารทิศ จนปัจจุบันนี้เขาสามารถเลี้ยงปลากะพงให้กินอาหารเม็ดได้
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส