


คำนิยามเหล่านี้
ใครเป็นคนกำหนด ?
หากมองเข้าไปในสังคมไทย
เรายังคงเห็นการตัดสินคนผ่าน
“อัตลักษณ์” และ “รูปลักษณ์”
หรือแม้แต่การนำ
“รสนิยม” มาผูกติดกับ “เพศ”
การตีกรอบและการแปะป้าย
กลายเป็นสิ่งที่ถูกใช้ส่งต่อกันมา
และกลายเป็น “บรรทัดฐาน” ตีกรอบการใช้ชีวิต
หากอ้างอิงตามที่ระบุในราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
หากอ้างอิงตามที่ระบุใน
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
คำว่า

กลายเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ถูกหยิบยกมาใช้
[ รดสะนิยม, รดนิยม ]
มีความหมายว่า
ความนิยมชมชอบ, ความพอใจ

= ตัวกำหนดเพศ ?
(เธอ) ไม่รู้จักฉัน…
(ฉัน) ไม่รู้จักเธอ…
ลองมาทำความรู้จัก
กับพวกเขากันหน่อยไหม ?
เพราะสิ่งที่เห็น อาจไม่ใช่สิ่งที่เป็น
คลิกเปิดแผ่นป้ายเพื่อดูว่า “เขา” คือใคร ?
จากกลุ่มตัวอย่างที่มีการสำรวจ
ช่วง 26 พ.ค. – 4 มิ.ย. 68
จะเห็นได้ว่า…
“รสนิยม” ไม่ได้เป็นตัวกำหนดถึงอัตลักษณ์
“รสนิยม” ไม่ได้เป็น
ตัวกำหนดถึงอัตลักษณ์
หรือรูปลักษณ์ที่คน ๆ นั้นเป็น
เพราะทุกคนมีสิทธิ์เลือก
ที่จะเป็นอะไรก็ได้ที่อยากเป็น
แล้วคุณล่ะอยากเป็นอะไร ?
มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับ “พวกเขา”
เพราะฉันคือเรื่องราวของฉัน
ไม่ใช่ภาพจำของใคร
I am my Story, Not your stereotype.

สมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว
สังคมไทยก้าวหน้า ?
นับตั้งแต่ “สมรสเท่าเทียม” มีผลบังคับใช้ จนถึงตอนนี้…
นับตั้งแต่ “สมรสเท่าเทียม”
มีผลบังคับใช้ จนถึงตอนนี้…
ความคิดเห็นเชิงลบเกี่ยวกับ LGBTQ+ และกฎหมายนี้ยังคงมีอยู่
ความคิดเห็นเชิงลบเกี่ยวกับ LGBTQ+
และกฎหมายนี้ยังคงมีอยู่
โดยหากพิจารณาจากการเก็บสถิติ Social Listening
โดยหากพิจารณาจากการเก็บสถิติ
Social Listening
ตั้งแต่วันที่ 23 ม.ค. – 2 มิ.ย. 68
พบว่า ความคิดเห็นเชิงลบมีสัดส่วนมากถึง
พบว่า ความคิดเห็นเชิงลบ
มีสัดส่วนมากถึง
27.2% จากจำนวนข้อความทั้งหมด 44,506 ข้อความ
และจากข้อความทั้งหมด เห็นได้ว่า…
การยอมรับเกี่ยวกับ “กลุ่มเพศหลากหลาย”
และ “สมรสเท่าเทียม” ยังคงอยู่ภายใต้กรอบ
เช่น ความเก่ง ความฉลาด หน้าตาดี และต้องไม่สร้างปัญหา
เช่น ความเก่ง ความฉลาด หน้าตาดี
และต้องไม่สร้างปัญหา
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ “สมรสเท่าเทียม” จะผ่านแล้ว
แต่การต่อสู้เพื่อสิทธิความเท่าเทียมอื่น ๆ
ของกลุ่มเพศหลากหลายยังไม่จบ
โดยเฉพาะการเสนอร่างพระราชบัญญัติรับรอง
โดยเฉพาะการเสนอร่าง
พระราชบัญญัติรับรอง
อัตลักษณ์ทางเพศสภาพ การแสดงออก
อัตลักษณ์ทางเพศสภาพ
การแสดงออกทางเพศสภาพ
ทางเพศสภาพ และคุณลักษณะทางเพศ พ.ศ. …
และคุณลักษณะทางเพศ พ.ศ. …
ทำไมต้องเสนอ พ.ร.บ. ฉบับนี้ ?
1.ทุกคนมีสิทธิเลือกเพศให้ตัวเอง
2. อายุ 15 ปีขึ้นไป สามารถเลือกเพศให้ตัวเองได้ แต่ถ้าอายุต่ำกว่า 15 ปี ต้องได้รับการยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม (ไม่ต้องขอใบรับรองแพทย์)
3. กรณีบุคคล “อินเตอร์เซ็กซ์” ห้ามบุคคลอื่นเลือกเพศให้ ฝ่าฝืนผิดกฎหมายอาญา มาตรา 297(2) ที่ทำให้เสียอวัยวะสืบพันธุ์
4. รับสิทธิสุขภาพถ้วนหน้า รับคำปรึกษาเทคฮอร์โมนอย่างถูกวิธี จนถึงการเปลี่ยนเพศอย่างเหมาะสม
5. ผลหลังจากจดแจ้งกับนายทะเบียน เช่น เปลี่ยนคำนำหน้านาม เปลี่ยนข้อมูลเพศ สิทธิตามกฎหมายแรงงาน สิทธิยุติการตั้งครรภ์ถูกกฎหมาย สิทธิคุ้มครองเพศใหม่
แม้จะมีเหตุผลในการเสนอ แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่า
แม้จะมีเหตุผลในการเสนอ
แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่า
ในภาพรวมของสังคมไทยยังคงมีการถกเถียง
ในภาพรวมของสังคมไทย
ยังคงมีการถกเถียง
ถึงประเด็นนี้อยู่มาก โดยเฉพาะเปลี่ยน
“คำนำหน้านาม”
เทียบ 4 ร่าง พ.ร.บ. รับรองเพศสภาพ

เทียบ 4 ร่าง พ.ร.บ.
รับรองเพศสภาพ

ประโยชน์ที่ประชาชนและสังคมคาดว่าจะได้รับ
ประโยชน์ที่ประชาชน
และสังคมคาดว่าจะได้รับ
การแสดงออกทางเพศสภาพ และคุณลักษณะทางเพศ
การแสดงออกทางเพศสภาพ
และคุณลักษณะทางเพศ
จะก่อให้เกิดการคุ้มครองและรับรองสิทธิ
จะก่อให้เกิดการคุ้มครอง
และรับรองสิทธิ
ในเรื่องของการใช้คำนำหน้านามของผู้มีความหลากหลายทางเพศ
ในเรื่องของการใช้คำนำหน้านาม
ของผู้มีความหลากหลายทางเพศ
เพราะสามารถตัดสินใจกำหนดวิถีทางเพศของตน
เพราะสามารถตัดสินใจ
กำหนดวิถีทางเพศของตน
จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการแสดงตัวตนในเอกสารของทางราชการ
จะไม่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการแสดงตัวตน
ในเอกสารของทางราชการที่
ที่กระทบต่อการดำเนินชีวิต อันเป็นการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
กระทบต่อการดำเนินชีวิต
อันเป็นการละเมิดศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคลดังกล่าว
สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลดังกล่าว
ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิด

LGBTQ+ ทั่วโลก กำลังเผชิญความรุนแรง!
ปี 2024 มีรายงานว่า LGBTQ+ ทั่วโลกถูกฆาตกรรม
ปี 2024 มีรายงานว่า LGBTQ+ ทั่วโลก
ถูกฆาตกรรม
ถึง 350 คน
(ข้อมูล: รายงาน Trans Murder Monitoring (TMM) 2024 โดย Transgender Europe (TGEU))
นับเป็นตัวเลขสูงสุดตั้งแต่มีการเก็บข้อมูลในปี 2008
นับเป็นตัวเลขสูงสุดตั้งแต่มีการเก็บข้อมูล
ในปี 2008
ขณะที่ยอด LGBTQ+ เสียชีวิตจากการถูกฆาตกรรมสะสม
ขณะที่ยอด LGBTQ+ เสียชีวิตจาก
การถูกฆาตกรรมสะสม
ทะลุ 5,000 คน
ลองประเมินจากแบบทดสอบนี้
ดูว่าคุณกำลังเผชิญกับความรุนแรงหรือไม่ ?
ลองประเมินจากแบบทดสอบนี้
ดูว่าคุณกำลังเผชิญกับความรุนแรงหรือไม่ ?
หากคุณรู้ว่าตนเองกำลังเผชิญกับความรุนแรง
หากคุณรู้ว่าตนเองกำลังเผชิญ
กับความรุนแรง คุณไม่ได้อยู่คนเดียว
คุณไม่ได้อยู่คนเดียว มีหน่วยงาน องค์กร และผู้เชี่ยวชาญ
มีหน่วยงาน องค์กร และผู้เชี่ยวชาญ
พร้อมให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือ
The Last Page, Not the Last Word.
จากบาดแผลสู่พลัง
แลกเปลี่ยนเรื่องเล่า บทเรียน และวิธีเยียวยา
แลกเปลี่ยนเรื่องเล่า บทเรียน
และวิธีเยียวยา
เพื่อสังคมที่ไม่ทอดทิ้งใครเพราะเพศสภาพ
เพื่อสังคมที่ไม่ทอดทิ้งใคร
เพราะเพศสภาพ
รวมเรื่องราวที่แชร์