จาก 19 ปีที่ร่วมคิด สู่ 14 ปีแห่งการลงมือทำพูดคุยกับ อ.วิลาสินี พิพิธกุล เรื่องของการมีอยู่ของทีวีสาธารณะของไทย ซึ่งเดินทางขึ้นขวบปีที่ 15 แล้ว
ก่อเกิดสื่อสาธารณะความเคลื่อนไหวครั้งสำคัญในวงการสื่อสารมวลชนไทย เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์วุ่นวายทางการเมืองในเดือนพฤษภาคม 2535
ย้อนอดีต จุดเริ่มต้นสื่อสาธารณะย้อนอดีตจุดเริ่มต้นจากทีวีเสรี สู่ทีวีสาธารณะ โดยเฉพาะในช่วง 14 ปีที่ผ่านมา
ถอดบทเรียนทีวีเสรี ก่อนเกิดสื่อสาธารณะพาไปย้อนอดีตจุดเริ่มต้นของสื่อสาธารณะในช่วงก่อตั้ง รวมไปถึงหลักการ แนวคิดและการทำงานในแบบฉบับของสื่อสาธารณะ ตลอดระยะเวลา 14 ปี ที่ผ่านมา
สื่อสาธารณะ ต้นแบบที่เติมเต็มสังคมไทยเมื่อมีสื่อสารมวลชนอยู่แล้วในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก เพราะเหตุใดจึงยังต้องมีสื่อสาธารณะในประเทศไทยอีกแห่งหนึ่ง ?
จุดตั้งต้นกระบวนการขับเคลื่อนสื่อสาธารณะร่วมพูดคุยกับคุณชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี ประธานสภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ ถึงบทบาทขององค์กรวิชาชีพที่มีส่วนร่วมในการผลักดันให้เกิดสื่อสาธารณะ พร้อมติดตามว่าองค์กรวิชาชีพสื่อ คาดหวังอยากให้ "ไทยพีบีเอส" ในฐานะสื่อสาธารณะ ทำงานอย่างไร ?
ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยกับบทบาทสื่อเนื่องในโอกาสก้าวเข้าสู่ปีที่ 15 ของไทยพีบีเอส ได้รับเกียรติจากคุณชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา มาร่วมพูดคุยเพื่อหาคำตอบในประเด็นปัญหา "ความเหลื่อมล้ำ" ในสังคมไทยกับบทบาทของสื่อ
สื่อสาธารณะที่ยึดโยงกับประชาชนมาร่วมพูดคุยกับ รศ. ดร.วิลาสินี พิพิธกุล ผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย หรือไทยพีบีเอส ที่พยายามจะทำให้สื่อสาธารณะแห่งนี้เข้าถึงประชาชนทุกกลุ่ม สร้างช่องทางรับชมใหม่ ๆ โดยใช้เทคโนโลยีและสื่อโซเชียลมีเดีย
บทบาทของสื่อสาธารณะแห่งแรกของอาเซียนร่วมพูดคุยถึงเบื้องหลังการทำงานในยุคแรกของไทยพีบีเอส ที่ได้ชื่อว่าเป็นสื่อสาธารณะแห่งแรกของอาเซียน
สื่อสาธารณะกับเยาวชนร่วมพูดคุยกับคุณเข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จัดการสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน ซึ่งสะท้อนการทำหน้าที่ของไทยพีบีเอสที่ต้องส่งเสริมและผลิตรายการเพื่อเด็กและเยาวชน