"สมุย"...ในวันที่ท่องเที่ยว(เกือบ)เป็นศูนย์"สมุย" มีรายได้หลักมาจากการท่องเที่ยว แต่หลังจากเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้รายได้ลดลงอย่างมาก เมื่อการท่องเที่ยวกระแสหลักยังคงหยุดนิ่ง การท่องเที่ยวชุมชนจะเป็นคำตอบและทางรอดให้ชาวเกาะสมุยได้หรือไม่ ?
คลุมถุง-รีดยา-ตบทรัพย์จากคลิปถุงคลุมหัวผู้ต้องหาเพื่อรีดข้อมูลของนายตำรวจกลุ่มหนึ่ง กลายเป็นคดีสะเทือนวงการสีกากีในขณะนี้ ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมว่าสิ่งที่ตำรวจทำคือสิ่งที่เหมาะสมแล้วหรือไม่ ?
“คนพลังบวก” สู้โควิด-19ในช่วงโควิด-19 คนเกือบทั้งประเทศกำลังตกอยู่ในความกลัว สิ้นหวัง มองไม่เห็นอนาคต ยังมีคนอีกหลายกลุ่มเปลี่ยนพลังลบให้เป็นบวก เป็นแสงสว่างปลุกให้คนส่วนใหญ่มองเห็นพลังบวกในตัวเอง
"แยกกัก" โคกขามโมเดล ทางรอด หรือทางตาย ?แนวทางแยกกักตัวดูแลรักษาตัวเองที่บ้านของผู้ป่วยโควิด-19 ที่โคกขามโมเดล จะเป็นทางรอด หรือทางตาย ? หลังประสบปัญหา ไม่เป็นไปตามเกณฑ์และความช่วยเหลือที่วางไว้ จนอาจถึงจุดที่ระบบไปต่อไปได้
เงินอุดหนุนเด็กเล็กแบบถ้วนหน้า...ถึงเวลาแล้วหรือยัง ?โควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง โดยเฉพาะคนที่ตกงานและมีลูกเป็นเด็กเล็ก ซึ่งเงินอุดหนุนเด็กเล็กแบบถ้วนหน้า จะเป็นแนวทางบรรเทาความเดือดร้อนให้เด็กและผู้ปกครองในสถานการณ์นี้
"ปลาวัยอ่อน" อวสานทะเลไทยอวนตาถี่เท่ามุ้งกำลังกลายเป็นเครื่องมือทำลายล้าง "ปลาวัยอ่อน" ในทะเลไทย ตัดวงจรชีวิตปลาไม่ให้วางไข่ จนทุกวันนี้ทะเลอาจใกล้ถึงจุดอวสานเข้าไปทุกที
โลกของเณรไร้สิทธิ์มีสามเณรจำนวนมากที่อาศัยอยู่ในไทย แต่ไม่มีสถานะทางทะเบียน ซึ่งส่งผลต่อปัญหาการเข้าถึงสิทธิ์ทางด้านสุขภาพ
ที่ดินสาธารณะคลองชายธง : ต่อสู้ สูญเสีย และฟื้นฟูที่ดินสาธารณะจำนวนมาก ไม่ได้ถูกใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างแท้จริง อย่างกรณีที่ดินสาธารณะคลองชายธง ชายฝั่งทะเลใน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ที่คนในชุมชนต้องต่อสู้และสูญเสียเพื่อรักษาพื้นที่นี้เอาไว้
กับดักเด็ก...พนันออนไลน์โควิด-19 ระบาด เด็กและเยาวชนอยู่บ้าน ทำให้เข้าถึงการพนันออนไลน์ง่ายขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีเด็กไทยกว่า 4 ล้านคน ต้องตกเป็นเหยื่อให้กับการพนันออนไลน์
ถอดบทเรียน 3 ทศวรรษ ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนหัวนาเกือบ 30 ปี หลังการสร้างเขื่อนหัวนา อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ ชาวบ้านเพิ่งได้รับเงินทดแทนผลกระทบจากการสร้างเขื่อน ถือเป็นกรณีตัวอย่างนโยบายของรัฐที่ส่งผลกระทบแก่ประชาชน
มิติใหม่...ชายแดนใต้พื้นที่ชายแดนใต้ อาจเคยมีภาพจำของความรุนแรง แต่มีธุรกิจน้อยใหญ่เติบโตขึ้นด้วยความร่วมมือของคนในพื้นที่
วัคซีนไทย ถึงไหนแล้ว ?เมื่อเกิดปัญหาการจัดสรรวัคซีน ผู้คนจึงถามหา "วัคซีนสัญชาติไทย" จะเป็นเพียงวัคซีนต้นแบบ หรือสามารถพัฒนาไปเป็นวัคซีนหลักของประเทศ ?
ออนไลน์...เราทิ้งใครไว้ข้างหลัง ?เราอยู่ในยุคของเศรษฐกิจดิจิทัลที่ขับเคลื่อนด้วยการเชื่อมต่อทางโลกออนไลน์ แต่ยังมีคนอีกหลายกลุ่มที่ถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง พวกเขาจะรับมือกับเหตุการณ์นี้อย่างไร
คนเปราะบาง บางกอกกับโควิด-19"คนไร้บ้าน" ได้รับผลกระทบหนักในช่วงโควิด-19 จะมีทางเลือกเพื่อทางรอดของพวกเขาหรือไม่
กัญชาไทย…ใครได้ ?"กัญชา" ถูกปลดล็อกจากพืชต้องห้าม สู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และเศรษฐกิจ ธุรกิจนี้ล้มเหลว หรือสำเร็จ ? ใครได้ประโยชน์จากการปลูกกัญชา 6 ต้น ที่แท้จริง ?
ลำปางโมเดล เมืองไม่กลัววัคซีนชุมชนเข้มแข็ง เข้าใจวัคซีน บุคลากรทางการแพทย์เข้าถึงชาวบ้าน คือปัจจัยสำคัญที่ทำให้ จ.ลำปาง จัดการวัคซีนโควิด-19 ได้ดีแห่งหนึ่งของไทย
แรงงานนอกระบบกับแรงกระแทกของโควิด-19ติดตามการเอาตัวรอดของแรงงานนอกระบบ ที่เดือดร้อนจากโควิด-19 ตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงตอนนี้
ภูเก็ตโมเดล แผนเปิดเมืองสู้โควิด-19จากวิกฤตโควิด-19 ภูเก็ตโมเดลจะเป็นอย่างไร หลังถูกกำหนดเป็นต้นแบบแผนเปิดประเทศ
บุคคลออทิสติกกับเส้นทางสู่อาชีพคนในสังคมจำนวนไม่น้อยเข้าใจว่าบุคคลออทิสติกไม่มีความสามารถ ทำงานประกอบอาชีพไม่ได้ ซึ่งไม่ใช่ความจริงทั้งหมด