ครบหนึ่งเดือนแล้ว สำหรับการเปิดภาคเรียนตามวิถีใหม่ ซึ่งมีการจัดรูปแบบการเรียนการสอนทั้ง Online, On Air และ Onsite ที่สอดรับมาตรการป้องกันโควิด-19 ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าทั้งนักเรียนและคุณครูต้องปรับตัวในการจัดการเรียนการสอน เพื่อไม่ให้ผู้เรียนได้รับผลกระทบจากรูปแบบการเรียนที่เปลี่ยนไป
แต่คุณครู ในฐานะผู้สอน ยังมีโจทย์อยู่หลายข้อ หนึ่งในนั้นคือการปรับบทบาทการสอนและจำนวนของครูที่ขาดแคลน ไม่เพียงพอกับวิชาที่เปิดสอน โดยเฉพาะช่วงสถานการณ์โควิด-19 ที่ขาดแคลนครูในวิชาชีพเฉพาะ ได้แก่ วิทยาศาสตร์, ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ทางโรงเรียนสตรีระนอง จึงดึงนักศึกษาสาขาภาษาจีนเข้ามาช่วยอาสาสอน เพื่อแก้ไขปัญหา
ขณะที่ในพื้นที่ห่างไกล หลายโรงเรียนยังเผชิญกับปัญหาจำนวนคุณครูไม่เพียงพอกับชั้นเรียนที่เปิดสอน แต่ที่โรงเรียนบ้านห้วยกระทิงเขา โรงเรียนชายแดนขนาดเล็กในจังหวัดตาก คุณครูต้องปรับตัวและจัดการเรียนการสอน
จากนั้นตามไปดูโจทย์ท้าทายกับบทบาทของครูผู้สอนที่เป็นโค้ชสำหรับผู้เรียน ที่โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์
ปิดท้ายด้วยมุมมองของคุณครูหลังคลายล็อก กับบทบาทการสอนแห่งอนาคต ร่วมพูดคุยกับ ผอ.วิเชียร ไชยบัง โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ และ รศ. ดร.นงเยาว์ เนาวรัตน์ หัวหน้าศูนย์พหุวัฒนธรรมและนโยบายการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ติดตามได้ในรายการนักข่าวพลเมือง C-Site วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม 2563 เวลา 13.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
นักข่าวพลเมือง C-Site
ทางเลือกจะนะกับการพัฒนา
แรงสะเทือนจากบอมเบย์เบอร์มา สู่ส่วนร่วมจัดการเมืองเก่า
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ต่อโครงการอุตสาหกรรมจะนะ
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงในชีวิตและเมล็ดพันธุ์
ท่องเที่ยวไทย หลังคลายล็อก
NexStep หลัง 240 วันสำรวจสิทธิที่ดิน
ห้องเรียนทักษะชีวิต สู้โควิด-19
มุมมองครูหลังคลายล็อก : บทบาทการสอนแห่งอนาคต
สัปดาห์แห่งความหลากหลายทางชาติพันธุ์
เตรียมรับมือภัยพิบัติ
การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่
เมืองฉบับออกแบบได้
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงาน
ห้องเรียนประชาธิปไตย
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุง
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออก
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้อง
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเล
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควัน
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19
Next step จะนะ ?
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้ง
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูน
นักข่าวพลเมือง C-Site
ทางเลือกจะนะกับการพัฒนา
แรงสะเทือนจากบอมเบย์เบอร์มา สู่ส่วนร่วมจัดการเมืองเก่า
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ต่อโครงการอุตสาหกรรมจะนะ
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงในชีวิตและเมล็ดพันธุ์
ท่องเที่ยวไทย หลังคลายล็อก
NexStep หลัง 240 วันสำรวจสิทธิที่ดิน
ห้องเรียนทักษะชีวิต สู้โควิด-19
มุมมองครูหลังคลายล็อก : บทบาทการสอนแห่งอนาคต
สัปดาห์แห่งความหลากหลายทางชาติพันธุ์
เตรียมรับมือภัยพิบัติ
การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่
เมืองฉบับออกแบบได้
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงาน
ห้องเรียนประชาธิปไตย
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุง
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออก
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้อง
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเล
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควัน
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19
Next step จะนะ ?
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้ง
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูน