อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมืองที่เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สําคัญของภาคใต้ และเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้สร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปยังทุกภูมิภาค เพื่อสร้างความมั่นคงให้กับสยาม สยามจำเป็นต้องกู้เงินจากอังกฤษหลายครั้ง ด้วยเหตุนี้ สยามจึงยอมตกลงให้รัฐมลายูทั้งสี่ ได้แก่ ไทรบุรี ปะลิส กลันตัน และตรังกานู ซึ่งเป็นประเทศราชของสยาม ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ หลังจากนั้นอีกประมาณ 10 ปี จึงได้มีการทําพิธีเปิดสถานี หาดใหญ่อย่างเป็นทางการ ซึ่งในตอนนั้นเอง บ้านเรือนปลูกสร้างอยู่ใกล้สถานีรถไฟเพิ่มขึ้นกว่า 100 หลังคาเรือน
เมืองหาดใหญ่เติบโตขึ้นในฐานะศูนย์กลางการค้าดีบุก และยางพาราทางภาคใต้ของไทย มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศทั้งสิงคโปร์และมาเลเซีย จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในราว พ.ศ. 2490 ราคายางพาราและดีบุกพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เศรษฐกิจเมืองหาดใหญ่เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน
หาดใหญ่ในวันนี้ มีอายุร้อยกว่าปี ก่อร่างสร้างตัว จากชุมชนเล็ก ๆ ที่มีเพียงไม่กี่หลังคาเรือน เติบโตกลายเป็นเมืองใหญ่ ที่เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคใต้ และในระดับภูมิภาค แต่ต่อมา หาดใหญ่ก็ต้องเผชิญกับความท้าทายต่าง ๆ ทั้งในเรื่องของภัยธรรมชาติ โรคระบาด และผลกระทบจากเหตุการณ์ ความไม่สงบของชายแดนใต้ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ทำให้หาดใหญ่ที่เคยรุ่งเรือง ซบเซาลงอย่างเห็นได้ชัด
ติดตามได้ ในรายการติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอน หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน วันเสาร์ที่ 4 พฤษภาคม 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย