อำเภอจะนะและอำเภอเทพา ตั้งอยู่ทางใต้ของอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ภูมิประเทศทางทิศตะวันตกและทิศใต้เป็นเทือกเขาสูงที่อุดมไปด้วยป่าไม้และแร่ธาตุ ก่อนจะค่อย ๆ ลาดลงสู่ที่ราบ และชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันออก ซึ่งเป็นชายทะเลอ่าวไทย ที่อยู่ระหว่างคาบสมุทรสทิงพระและอ่าวปัตตานี มีการค้นพบ “กลองมโหระทึก” สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย กำหนดอายุอยู่ประมาณ 3,000 ปี
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา จะนะ เทพา ถือได้ว่าเป็นพื้นที่พรมแดน และเป็นพื้นที่กันชนระหว่าง รัฐสยาม และ รัฐมลายู มีการสู้รบหลายต่อหลายครั้งในพื้นที่แห่งนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 3 เกิดเหตุการณ์กบฏไทรบุรี 2 ครั้ง ครั้งแรกเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2373 และประกาศสงครามกอบกู้เอกราชปัตตานีจากสยามด้วยเช่นกัน มีการรบและตรึงกําลัง ที่บ้านนาทับ อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา โดยใช้คลองนาทับเป็นแนวกั้นระหว่างกองทัพสยามกับ กองทัพปัตตานี
เมืองจะนะและเทพา เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ย้อนหลังกลับไปไกลถึงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ การเป็นเมืองพรมแดนระหว่างรัฐสยามและมลายู ซึ่งนอกจากจะเป็นสนามรบแล้ว ยังเป็นพื้นที่ซึ่งผู้คนได้ผสมกลมกลืนทุกเชื้อชาติ และวัฒนธรรมเข้าด้วยกันจนเกิดเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตัว นอกจากนี้ จะนะและเทพา ยังเป็นชิ้นส่วนสำคัญของประวัติศาสตร์ในระดับชาติ รวมถึงในระดับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้ เป็นความภาคภูมิใจของคนจะนะ เทพา และทำให้ใคร ๆ ไม่อาจมองจะนะเทพาเป็นเพียงอำเภอทางผ่านได้อีกต่อไป
ติดตามได้ ในรายการติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอน จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย