พระพิราพ เทพอสูร ผู้เป็นที่เคารพในฐานะครูนาฏศิลป์ที่มีอิทธิฤทธิ์น่ายำเกรงมากที่สุด เชื่อกันว่าเป็นอวตารภาคหนึ่งของพระศิวะ มหาเทพแห่งการร่ายรำและการดนตรีทั้งปวง นาฏกรรม คีตกรรม หรืองานศิลป์ใด ๆ ที่เกี่ยวกับองค์พระพิราพจึงถูกจัดให้เป็นงานศิลปะชั้นสูงซึ่งมีขนบความเชื่อ ความละเอียดอ่อน และเปี่ยมไปด้วยความศักดิ์สิทธิ์ จำเป็นจะต้องมีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ยึดถืออย่างเคร่งครัด จะต้องกระทำด้วยความเคารพ และเหมาะสมแก่วาระโอกาส
ในสมัยรัชการที่ 7 ได้มีการประดิษฐ์ท่ารำองค์พระพิราพเต็มองค์ขึ้นมาเพื่อใช้ในพระราชพิธีรับและขึ้นระวางสมโภช พระเศวตคชเดชน์ดิลก ( สมโภชช้างเผือก ) และได้มีการสืบทอดกระบวนรำดังกล่าวมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งยังคงรักษาไว้ซึ่งระเบียบแบบแผนที่เคร่งครัด ตั้งแต่ขั้นตอนพิธีการ การสืบทอด ตลอดจน การคัดเลือกคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการถ่ายทอดความศรัทธาต่อความศักดิ์สิทธิ์ขององค์พระพิราพนี้ ยังผลให้เกิดการนับถือแพร่หลายในสังคมวงกว้าง ในฐานะของอสูรเทพผู้ประทานโชคลาภ และปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย ภยันอันตรายต่าง ๆ
บทบาทที่หลากหลายซึ่งเปลี่ยนไปตามแต่ละช่วงเวลาขององค์พระพิราพนี้ ได้สะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยที่มีมาตั้งแต่อดีตเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
ติดตามได้ ในรายการจากรากสู่เรา ตอน พระพิราพ วันเสาร์ที่ 28 กันยายน 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย