เช็กสถานการณ์ฝุ่นข้ามพรมแดนเพราะแม้จะมีพายุฤดูร้อนทำให้ฝนตกในพื้นที่ภาคเหนือ แต่ก็ยังดูเหมือนช่วยบรรเทาฝุ่นพิษไม่ค่อยได้ สาเหตุเพราะ ฝนไม่ได้ตกครอบคลุมทุกพื้นที่ และการเผาทั้งในไทยและประเทศเพื่อนบ้านยังเกิดขึ้นต่อเนื่องชวนขยายทางแก้ฝุ่นข้ามแดนกันต่อ
ชวนดูข้อมูล GISTDA พบว่า ตั้งแต่ช่วงวันที่ 1 พ.ย. 66 - 19 เม.ย. 67 เมียนมา เป็นแชมป์เกิดจุดความร้อน มีจำนวนจุดความร้อนขึ้นถึง 303,000 จุด เราเผา เขาเผา เราต่างก็เผชิญกับวิกฤตินี้ร่วมกัน สถานการณ์วันนี้จุดความร้อนลดลงอย่างมีนัยสำคัญหรือยัง ขยายข้อมูลกับ ดร.ปกรณ์ เพ็ชรประยูร ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมภูมิสารสนเทศ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
ฝุ่นข้ามแดนเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความร่วมมือระดับชาติ โดยที่ผ่านมารัฐเองก็มีความพยายามเดินสาย พูดคุยแบบ G TO G ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ในระดับพื้นที่มีมาตรการความร่วมมือ แบบ Local to Local ว่าด้วยเรื่องความร่วมมือระหว่างเมือง ล่าสุดเมื่อ 19 มี.ค. 67 มติคณะรัฐมนตรี ให้อำนาจผู้บริหารทั้งระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่นในพื้นที่สามารถดำเนินการเจรจา หรือสร้างความร่วมมือกับเพื่อนบ้านได้เอง ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอจากประชาชน โดยสภาลมหายใจภาคเหนือ จากการเสวนา เวที "สานสัมพันธ์ ลมหายใจ สองฝั่งสาละวิน สร้างกลไกฝุ่นควันข้ามแดน" แก้ปัญหาฝุ่น ของประชาชนสองฝั่ง ไทย - เมียนมา
ส่วนความร่วมมือกับลาวปี 67 พบภาพความตื่นตัวเรื่องร่วมแก้ฝุ่นในหมู่คนหนุ่มสาวชาวลาวอย่างมาก ปีนี้คนรุ่นใหม่ในไทยและในลาว 1 มหาวิทยาลัย ร่วมกับ 5 มหาวิทยาลัยภาคเหนือตอนบน และทีมอาสาโทรโข่งลุ่มน้ำโขง ผลิตสื่อสะท้อนปัญหาฝุ่นควันในพื้นที่และสร้างความตระหนักให้กับประชาชน เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการขยับภาคประชาชน ในมุมคณะกรรมการร่างกฏหมายอากาศสะอาดจะมองจุดเชื่อมต่องานต่อนี้กับนโยบายภาพใหญ่อย่างไร ชวนพูดคุยกับ ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ ประธานคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนร่างกฎหมายว่าด้วยอากาศสะอาด
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 19 เมษายน 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม