ไม้สักเมืองแป้ อีกหนึ่งของชื่อของ จ.แพร่ นอกจากเสื้อหม้อห้อมที่เรารู้จักกันแล้ว ของดีคนแพร่อีกหนึ่งอย่าง คือ เฟอร์นิเจอร์ไม้สัก ปัจจุบันผู้ประกอบเริ่มปรับรูปแบบให้ทันสมัย ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคกลุ่มลูกค้ายุคใหม่ แต่กฎหมายที่เกี่ยวข้องทำให้ผู้ประกอบการรายเล็กในอุตสาหกรรมไม้สักโตไม่เต็มที่
ภายใต้การปรับตัวที่คนในพื้นที่อยากให้อุตสาหกรรมไม้เติบโต ยังคงเต็มไปด้วยอุปสรรค เมื่อปลายเดือนมิถุนายน ที่ผ่านมา เครือข่ายภาคประชาสังคมแพร่และภาคีเครือข่าย อำเภอสูงเม่น จัดเวทีพูดคุย “อนาคตสูงเม่น เศรษฐกิจเมืองไม้สักสู่ความยั่งยืน” จัดที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่
จากเงื่อนไขทางกฎมายที่ยังเป็นสร้างอุปสรรค เพื่อให้อุตสาหกรรมป่าไม้สักในจังหวัดแพร่มีศักยภาพต่อการแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงในตลาดโลก ชวนคุยต่อว่าจะต้องปลดล็อกอะไรที่จะทำให้ผู้ประกอบการท้องถิ่นเมืองไม้สัก เติบโตไปข้างหน้า ขยายประเด็นนี้ กับ คุณ ชลธิศ สุรัสวดี อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ ปัจจุบันที่ปรึกษาพิเศษด้านสิ่งแวดล้อม ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ คุณเทพ ถนอม ประธานคลัสเตอร์ไม้สักจังหวัดแพร่
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.