เวลานี้เหตุการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ภาคเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดเชียงราย อยู่ในช่วงของการฟื้นฟูเยียวยา และยังต้องเฝ้าระวัง นี่เป็นเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในรอบหลายสิบปีของคนเชียงราย แม้วันนี้น้ำไปแล้ว แต่ยังมีสงครามที่คนในพื้นที่ต้องต่อสู้ ทั้งเรื่องสภาวะจิตใจหลังเหตุการณ์ และการฟื้นฟูบ้านเรือน ให้กลับไปอยู่อาศัยได้โดยเร็ว ภัยพิบัติครั้งนี้รุนแรงและเป็นบทเรียนสำคัญที่ต้องชวนกันมองและออกแบบใหม่ ทั้งในเรื่องแผนเผชิญเหตุภัยพิบัติที่ต้องมองกันทั้งประเทศ และทุกพื้นที่ควรต้องมีชุดฉุกเฉินและระบบเตือนภัยล่วงหน้าที่ทันต่อสถานการณ์
ส่วนหนึ่งของการรับมือในสถานการณ์ภัยพิบัติ คือ การสื่อสารสาธารณะจากหน่วยงานและภาคประชาชน ทั้งเพื่อแจ้งเตือนเตรียมการและประสานความช่วยเหลือ นอกจากการรายงานสถานการณ์ในพื้นที่แล้ว ทาง platform C-site เปิดระบบที่มีชื่อว่า น้ำท่วมภาคเหนือ ภาคอีสาน Matching พื้นที่เฝ้าระวัง แจ้งจุดที่ต้องการความช่วยเหลือ SOS จุดส่งต่อความช่วยเหลือให้หน่วยงานในพื้นที่ และ ผู้ที่ต้องการประสงค์ช่วยเหลือฟื้นฟู
ชวนติดตามเรื่องราว อาสาที่นับตั้งแต่วันแรกจนถึงวันนี้ กว่า 10 วันแล้ว ที่การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่จังหวัดเชียงราย หลายเครือข่ายหลั่งไหลเข้าช่วยเหลือมากมาย อีกหนึ่งบทบาทสำคัญ คือ เครือข่ายอาสาสมัครทั้งในและนอกพื้นที่ ทั้งอาสาล้างบ้าน อาสาครัวกลาง หรือแม้กระทั่งพื้นที่กลางแมชชิ่งสิ่งของจำเป็น เพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูชุมชน ติดตามเรื่องนี้จากทีมสื่อพลเมือง
พร้อมชวนวิเคราะห์การแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างและแผนเผชิญเหตุ มองปัญหาน้ำท่วมในภาคเหนือและพื้นที่อื่น ๆ ให้ไปไกลกว่าแค่ท่วมซ้ำซาก ครั้งนี้เป็นการท่วมไหลหลากข้ามประเทศ ในวันที่แจ้งเตือนล่วงหน้าไม่ทันการณ์ หน่วยงานไม่ได้บูรณาการกันอย่างแท้จริง ทำอย่างไรให้ข้อมูลที่กระจัดกระจายของหน่วยงานต่าง ๆ ทำให้เห็นการเป็นระบบมากขึ้น พร้อมทั้งมีแผนเผชิญเหตุ ภัยพิบัติ ที่ต้องเคลื่อนทั้งประเทศ ทุกพื้นที่ต้องมีชุดฉุกเฉิน และระบบการเตือน ชวนคุยกันต่อ กับ คุณสมเกียรติ เขื่อนเชียงสา สมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิตและ ผศ.ดร.สิตางศุ์ พิลัยหล้า หัวหน้าศูนย์เฝ้าระวังอุทกภัยฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 20 กันยายน 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Liveแท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.