มลพิษทางอากาศอย่างฝุ่น PM 2.5 นับว่าเป็นเรื่องที่ผู้คนในสังคมให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะตลอดช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมาคุณภาพอากาศทั้งกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และหลายจังหวัด มีค่าฝุ่นสูงต่อเนื่อง ซึ่งเป็นปัญหาที่ ซึ่งการแก้ไขปัญหาเหล่านี้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ อปท. ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับประชาชนและเข้าใจปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างดี และ 1 ก.พ. 68 นี้ที่จะเป็นวันเลือกตั้ง อบจ. คุณเล่าเราขยายจึงชวนติดตามสถานการณ์ฝุ่นพิษ PM 2.5 และบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานท้องถิ่นอย่าง อบจ. ต่อเรื่องนี้
เริ่มต้นชวนติดตามความเคลื่อนไหวจากภาคพลเมืองที่รายงานสภพอากาศและบรรยากาศท้องฟ้างจากหลากหลายพื้นที่กับกิจกรรม บ้านฉันบ้านเธอ "ท้องฟ้าวันนี้ยังอยู่ดี…? ที่ร่วมรายงานเข้ามากับ C-Site Thai PBS ต่อด้วยกิจกรรมดี ๆ ที่ จ.ขอนแก่น ซึ่งน้อง ๆ นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคน้ำพอง เล่าถึงการเรียนรู้ในค่ายเยาวชนอีสานรุ่นใหม่ ใส่ใจสิทธิ รักษ์สิ่งแวดล้อม ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 25 - 26 ม.ค. ที่ผ่านมา จากนั้นพาไปฟังเสียงของชาวบ้านและเกษตรกรในพื้นที่ จ.ชัยภูมิ ที่สะท้อนความเข้าใจต่อเรื่องฝุ่น PM 2.5 และไปฟังเสียงของเครือข่ายสมาคมสภาองค์กรชุมชนลุ่มน้ำโขง 7 จังหวัดภาคอีสาน ที่สะท้อนถึงปัญหาภัยพิบัติที่กระทบต่อชีวิตผู้คนและรพรมแดร ส่งท้ายพาไปดูรูปธรรมการจัดการปัญหาฝุ่นควันและไฟป่าในพื้นที่ภาคเหนือ ที่ชาวบ้าน ภาคประชาสังคม และหน่วยงานท้องถิ่นร่วมกันจัดการ
จากนั้นเรื่อง PM 2.5 ซึ่งเป็นวาระสำคัญระดับชาติที่มีความซับซ้อน และมีผลกระทบเป็นวงกว้างยาวนานจำเป็นต้องใช้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายในหลายระดับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึง อบจ.ที่กำลังจะมีการเลือกตั้งทั่วประเทศในวัน 1 กุมภาพันธ์ 2568 จะสามารถรับมือและแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างไรบ้าง ชวนแลกเปลี่ยนกับนักวิชาการ 2 ท่าน ผศ.ดร.ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม และ ดร.ชัชวาล อัยยาธิติ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ติดตามได้ในรายการคุณเล่าเราขยาย ตอน โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ วันศุกร์ที่ 31 มกราคม 2568 เวลา 17.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.