เรียนวิทยาศาสตร์ไปทำไม คงเป็นคำถามของใครหลายคน แต่ตอนนี้ดูเหมือนเด็กนักเรียนที่ จ.น่าน ได้คำตอบแล้ว เพราะวิทยาศาสตร์อยู่รอบตัวเรา การเรียนวิทย์ให้สนุก ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน การปรับวิธีการสอนในระบบของสถานศึกษาสำคัญมาก วันนี้เราเห็นแผนการการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ที่สอดรับกับวิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง ที่ให้ความสำคัญกับพื้นที่จริงในชุมชน ที่กำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โรงเรียนก็มีความพยายามปรับหลักสูตร ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์กระแสหลักผนวกเข้ากับวิทยาศาสตร์พลเมือง ที่ทั้งครูและเด็กได้เรียนรู้ไปด้วยกัน นอกจากจะเข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์ ขณะเดียวกันยังเข้าใจ รู้จักชุมชนของตัวเองเพิ่มขึ้นอีกด้วย สำคัญคือคุณครูและชุมชนที่เป็นพี่เลี้ยงหลักในพื้นที่ ให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ปัญหาจาก พื้นที่จริง และได้ออกแบบกระบวนการในการวิเคราะห์ปัญหา ซึ่งตอบโจทย์เรื่องการเรียนรู้ในพื้นที่ รู้เท่าทันปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อมและผลกระทบด้านสุขภาพ เป็นจุดเริ่มต้นให้เด็ก ๆ หวงแหนในท้องถิ่นและร่วมรักษาชุมชนของตน อีกทั้งก็เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์
ชวนคุณกันต่อว่าเมื่อเกิดการเรียนรู้รูปแบบนี้ พยายามผลักดันออกแบบร่วมกับหลักสูตรแกนกลางจะไปต่ออย่างไร หลักสูตรการเรียนรู้การเฝ้าระวังชุมชน ร่วมเฝ้าสังเกตชุมชนไปด้วย กับแขกรับเชิญ 2 ท่าน ได้แก่ สมพร เพ็งค่ำ นักวิชาการและผู้จัดการชุดโครงการวิจัยเชิงปฎิบัติการการพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชนกรณีมลพิษข้ามแดนจากโรงไฟฟ้าหงสา และ ปรานอม จินะสาม ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ
ติดตามได้ในรายการคุณเล่าเราขยาย ตอน โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ วันศุกร์ที่ 7 มีนาคม 2568 เวลา 17.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.