เมื่อการฟื้นคูคลองและคุณภาพชีวิตคนริมคลอง กลายเป็นโจทย์สำคัญของหลายเมืองใหญ่ รวมถึงเมืองสงขลา ที่กำลังหาแนวทางพัฒนาและฟื้นฟู “คลองสำโรง” คลองประวัติศาสตร์สำคัญของเมือง ตอนนี้หลายภาคส่วนกำลังออกแบบการพัฒนาคลองสำโรง จ.สงขลา ไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีโจทย์ท้าทายที่ต้องช่วยกันแก้ ชวนขยายประเด็นนี้กับคุณปริชาติ แก้วมหิงค์ เจ้าหน้าที่ปฎิบัติการชุมชนอาวุโส สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน และคุณจามีกร มะลิซ้อน อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการผังเมือง มทร.ศรีวิชัย
ต่อด้วยความเคลื่อนไหวกับภาคพลเมือง ชวนติดตามการฟื้นฟูโรงเรียนหลังน้ำท่วมใน จ.ศรีสะเกษ และกิจกรรม Zero Waste ของน้อง ๆ ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบางเสาธง กับการเรียนรู้จัดการขยะแยกขยะเพิ่มมูลค่าสร้างรายได้จากขวดน้ำพลาสติก
ปิดท้ายด้วยกลุ่มชาวบ้านริมทางรถไฟ “เครือข่ายริมรางเมืองย่าโม” อ.เมือง จ.นครราชสีมา หลังจากย้ายออกจากชุมชนเดิม ตอนนี้พวกเขากำลังออกแบบสร้างกำแพงดินรีไซต์เคิล ผ่านกิจกรรม "ผ้าป่ากำแพงใจ" ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน