ชวนติดตามความพยายามในการจัดการน้ำและการรับมือภัยพิบัติโดยภาคประชาชน ทั้งการออกแบบองค์ความรู้ที่เหมาะในการรับมือน้ำท่วม การจัดทำข้อมูลผู้ประสบภัย และการนำความรู้ในมหาวิทยาลัยไปบริการชุมชนในสถานการณ์ภัยพิบัติ จากนั้นติดตามความเคลื่อนไหวและเหตุการณ์ใกล้ตัวกับ C-site ที่นักข่าวพลเมืองจากทุกภูมิภาคร่วมรายงาน ทั้งกิจกรรมงานเทศกาลอาหารการกินและวิถีไทลาวห้วยหูด ปีที่ 2 ต่อด้วยเสียงของเกษตรกร จ.ตาก ที่กำลังประสบปัญหาราคาพริกตกต่ำ และเกษตรกรผู้ปลูกหอมแดงในพื้นที่ อ.ยางชุมน้อย จ.ศรีสะเกษ ที่เจอปัญหาได้ผลผลิตน้อย เนื่องจากสภาพอากาศที่แปรปรวน รวมถึงกิจกรรมทำบุญแม่โพสพ และการทำนาหลังน้ำลดของชาวนา ต.สนามชัย และ ต.บ้านแป้ง อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา และติดตามกิจกรรมถอดบทเรียนรับฟังประสบการณ์รับมือน้ำท่วมอุบลฯ ซึ่งรวมตัวเครือข่ายภัยพิบัติชุมชนกว่า 120 คน จาก 12 จังหวัด มารวมตัวกัน เพื่อเรียนรู้การรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ
จากนั้น ติดตามความพยายามสร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมในการจัดการน้ำและแก้ปัญหาน้ำท่วม เพื่อให้คนปลายน้ำ จ.อุบลราชธานี และพื้นที่อื่น ๆ ที่ต้องเผชิญกับน้ำท่วม ให้สามารถรับมือน้ำท่วมได้อย่างเท่าทัน จากนั้น ร่วมพูดคุยเพื่อหาทางไปต่อของการจัดการภัยพิบัติโดยภาคประชาชนกับอนาคตของ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภาคประชาชน กับคุณไมตรี จงไกรจักร์ มูลนิธิชุมชน
และติดตามช่วงอวดดี พาไปติดตามคนรุ่นใหม่ นิสิตวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ต่อยอดดนตรีพื้นบ้านอีสานให้มีความร่วมสมัย กับนักข่าวพลเมือง สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ม.มหาสารคาม
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน