Failed to load player resources
Please refresh the page to try again.
ERROR_BYTEARK_PLAYER_REACT_100001
ตลอดระยะเวลาตั้งแต่ต้นเดือนมกราคม - เมษายนของทุกปี เป็นช่วงที่จังหวัดในภาคเหนือประสบปัญหาหมอกควันและไฟป่า ดังนั้นจึงเป็นช่วงเวลาที่ "ควัน" และ "การเผา" ถูกเพ่งเล็งเป็นพิเศษ หน่ำซ้ำการบริหารจัดการเชื้อเพลิงยังถูกแขวนอยู่บนความไม่แน่นอนของคำสั่งจากสายปกครอง การโคจรของดาวเทียม รวมถึงการพยากรณ์อากาศ นี่คือมิติใหม่ของบรรยากาศในช่วงฤดูแล้งที่ภาคเหนือจำต้องเผชิญทุกปี
ชวนเช็กสภาพอากาศผ่านแอปพลิเคชัน C-site เพราะในช่วงนี้พื้นที่ภาคเหนือส่วนใหญ่กำลังเผชิญค่าคุณภาพอากาศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ร่วมจำลองอยู่ในสถานการณ์ภาวะอุณหภูมิผกผัน หรือฝาชีครอบ ที่เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาฝุ่นควันในพื้นที่ภาคเหนือ และลงพื้นที่ไปกับนักข่าวพลเมือง ที่ชุมชนบ้านม่วงคำ ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ผู้นำชุมชน นักศึกษา และชาวบ้าน พวกเขาต้องการจะมีส่วนช่วนในการลดปัญหาฝุ่นควัน และลดโอกาสการลุกลามของไฟป่าในพื้นที่ จึงร่วมกันทำแนวกันไฟโดยการกำจัดใบไม้แห้งเศษกิ่งไม้ที่จะเป็นเชื้อเพลิง และนำไปรวบรวมทำเป็นปุ๋ยเพื่อใช้ในการเกษตร
พร้อมทั้งชวนทำความเข้าใจ "ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย" ซึ่งปัจจุบันมีระบบที่มาช่วยในการบริหารจัดการไฟ ช่วยในการลดการสะสมของฝุ่นควัน PM 2.5 และสามารถออกแบบต้นกำเนิด ของการใช้ไฟหรือการเผาในแต่ละวันแต่ละช่วงเวลาตามความจำเป็นของแต่ละพื้นที่ได้ ชวนคุยต่อกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชาคริต โชติอมรศักดิ์ หัวหน้าศูนย์ภูมิภาคเพื่อการศึกษาด้านภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้คิดค้นนวัตกรรมแอปพลิเคชัน FireD
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
00:00
00:00