ช่วงต้นสัปดาห์ที่ผ่านมาภาคเหนือในหลายพื้นที่มีฝนตกจากพายุฤดูร้อนฮีโร่ที่เข้ามาช่วยชำระล้างฝุ่นที่ปกคลุมภาคเหนือร่วมเดือน แต่ยังไม่สามารถทำให้ฝุ่นจิ๋วหายไปได้หมด เพราะค่า PM 2.5 ภาคเหนือหลายพื้นที่ยังอยู่ระดับส้ม ฝนที่ตกลงก็ทำได้เพียงบรรเทา แต่โจทย์ใหญ่ยังไม่ได้ถูกแก้ไข
ชวนคุณผู้ชมเช็กสภาพอากาศผ่านแอพพลิเคชั่น C-site ชวนเช็กทุกสถานีในประเทศไทย วัดค่าและรายงานแบบเรียลไทม์ ทั้งแบบค่าเฉลี่ยของ Low cost Censor และของกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งพบว่ายังกระทบด้านสุขภาพ มีข้อสังเกตถึงผลกระทบ ปัญหาฝุ่นควันที่เรื้อรังมานานในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เมื่อผนวกกับข้อมูลสถิติผู้ป่วยที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญในช่วงเดือนมีนาคมและเดือนเมษายน
ย้อนตรวจการบ้านกลับไปดูการแก้ปัญหาในระดับนโยบาย ตั้งแต่ปี 2562 หลังจากการเลือกตั้ง รัฐบาลประกาศเรื่องฝุ่นควันเป็นวาระแห่งชาติจนถึงตอนนี้ไปถึงไหนแล้ว
แน่นอนว่าฝุ่นยังไม่หาย สมรภูมิรบฝุ่นควันนี้ยังต่อเนื่อง ชวนลงพื้นที่ไปกับทีมสื่อพลเมือง ต.บ้านปง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ ที่นี่ทีมอาสาทำงานร่วมกับภาครัฐ เพราะที่นี่เป็นพื้นที่ป่าใกล้เมือง อยู่ในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย เกิดเหตุไฟไหม้บ่อย จึงต้องมีทีมชุมชนจัดเวรเฝ้าระวังพื้นที่ตลอด ทั้งจัดทำและดูแลแนวกันไฟ พวกเขาต้องเตรียมพร้อมทุกสถานการณ์
แน่นอนว่า หลายพื้นที่ทั่วประเทศ ต่างต้องเผชิญปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 ไม่เพียงแต่ที่เมืองใหญ่อย่าง กรุงเทพฯ หรือเชียงใหม่ ซึ่งเจอกับวิกฤตมานานนับ 10 ปี นับเป็นมหากาพย์วาระประชาชนทั้งประเทศ แล้วในโอกาสที่จะเลือกตั้งใหญ่ครั้งนี้ เสียงจากประชาชนถึงนโยบายฝุ่นจะเป็นอย่างไรชวนขยายเรื่องนี้ต่อกับ คุณอัลลิยา เหมือนอบ หรือ คุณโบนัส นักรณรงค์ด้านมลพิษทางอากาศ กรีนพีซ ประเทศไทย
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันพฤหัสบดีที่ 16 มีนาคม 2566 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน
คุณเล่า เราขยาย
ผ้าป่าเมล็ดพันธุ์ ความหวังฟื้นชีวิตเกษตรกร
เปิดบทเรียนชุมชนประสบภัย กับโจทย์จัดการภัยพิบัติ
ฤดูประสบภัย กับคนสูงอายุ
"ไฟฟ้า" พลังงานทางที่เลือก
"อาสาล้างบ้าน" ฟื้นชุมชนหลังน้ำท่วม
ฟื้นชีวิตคน - คลองสำโรง จ.สงขลา
ข้อบัญญัติท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรชุมชน
สื่อพลเมืองสะพานเชื่อมผู้คน
เมล็ดพันธุ์ คน เมือง
12 ปีวันรวมญาติชาวเล เริ่มพื้นที่นำร่องเขตคุ้มครองวัฒนธรรม
ทิศทางชุมชนริมราง รถไฟสายเหนือ
สถานะแรงงานกับสถานการณ์เพื่อนบ้าน
18 ปีความรุนแรง กับพลังผู้หญิงชายแดนใต้
คุณภาพสังคมสูงวัย กับสิทธิแรงงาน
ทางเลือกการศึกษากันเด็กไม่หลุดการเรียนรู้
10 ปี "สมบัด" ที่หายไป สู่การยกระดับสิทธิมนุษยชนอาเซียน
ทางไปต่อ พ.ร.บ.ภัยพิบัติ ภาคประชาชน
#Saveเกาะหลีเป๊ะ หาทางออกข้อพิพาทที่ดินชาวเล
ภาคพลเมือง ปรับทิศคิดต่อ ปี 2566
ท่องเที่ยวโดยชุมชน โอกาสของทางเลือก
เปิดห้องเรียน เครือข่ายสื่อสาธารณะท้องถิ่น
ทางออกฝุ่นควันเพื่ออากาศสะอาด
มองชาวเล เข้าใจกลุ่มชาติพันธุ์ภาคใต้
น้ำมันรั่วระยอง เยียวยาไม่เท่ากับฟื้นฟู
อีสาน Geopark โอกาสจากผืนดิน
ไฟจำเป็นกับการจัดการที่เป็นโจทย์ท้าทาย
"จะนะ เกียวทาคุ" ปลาพิมพ์ปลาเล่าเรื่องชุมชน
"ทางเท้า" พื้นที่สาธารณะกับการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ทิศทางชุมชน คน แร่ เหมือง
ฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 มหากาพย์วาระประชาชน