พื้นที่ชุ่มน้ำ นับว่าเป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญของมนุษย์ รวมทั้งเป็นแหล่งที่รวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพ และมีประโยชน์หลายด้านสำหรับมนุษย์ ซึ่งในประเทศไทยมีพื้นที่ชุ่มน้ำอย่างน้อย 36,616.16 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 7.5 ของพื้นที่ประเทศไทย แต่ในปัจจุบันพบว่าพื้นที่ชุ่มน้ำหลายแห่งได้ถูกบุกรุก ทำลาย หรือถูกพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปใช้ในรูปแบบอื่น ทำให้พื้นที่ชุ่มน้ำจำนวนมากมีความเสื่อมโทรม หลายแห่งถึงขั้นวิกฤต ผู้คนในหลายพื้นที่จึงพยายามลุกขึ้นมาปกป้องทรัพยากรและพื้นที่ชุ่มน้ำในภูมิภาคต่าง ๆ โดยผ่านการแสดงออกเชิงสัญญะ หรือกิจกรรม เพื่อสะท้อนผลกระทบที่การขึ้นในแหล่งน้ำนั้น ๆ เพื่อนำไปสู่การดูแลรักษาร่วมกัน เช่น ลุ่มน้ำอิงในภาคเหนือ พื้นที่ชุ่มน้ำทะเลน้อยในภาคใต้ และลุ่มน้ำโขงและแม่สาขาในภาคอีสาน
และเนื่องจาก 2 กุมภาพันธ์นี้ เป็นวันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก หรือ World Wetlands Day ชวนขยายประเด็นจากเครือข่ายภาคพลเมืองที่สื่อสารเรื่องราวเหล่านี้ผ่านแอปพลิเคชัน C-Site เพื่อบอกเล่าเรื่องราวผลกระทบและความสำคัญของพื้นที่ชุ่มน้ำในประเทศไทย ที่กำลังเผชิญวิกฤติจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่กำลังพัฒนา ให้ผู้คนในสังคมหันมาสนใจและร่วมกันปกป้องและดูแลแหล่งน้ำ และใช้ประโยชน์อย่างรู้คุณค่า
จากนั้น ชวนขยายเรื่องนี้กับ นายปรมินทร์ วัฒน์นครบัญชา คนเมืองที่สนใจเรื่องสิ่งแวดล้อม และกำลังออกเดินทางเพื่อสื่อสารและบอกเล่าสถานการณ์ลุ่มน้ำโขงผ่านประสบการณ์ที่เผชิญ และ พ่อหลวงขวัญ เตชพัฒน์ มะโนวงศ์ เครือข่ายสภาประชาชนลุ่มน้ำอิง จ.เชียงราย ที่จะมาร่วมขยายเรื่องราวความสำคัญของพื้นที่ชุ่มน้ำและแหล่งน้ำในประเทศไทย
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม